Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78464
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤมล กิมภากรณ์-
dc.contributor.authorศิรศิญา วิชัยธนพัฒน์en_US
dc.date.accessioned2023-07-11T14:58:16Z-
dc.date.available2023-07-11T14:58:16Z-
dc.date.issued2564-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78464-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study was to examine perceiving value through customer experiences in organic farm-stays in Chiang Mai, and to examine the differences in the perceived value of Thai customers based on demographic characteristics by gender, age and education. Collecting data by using Questionnaire. The population used in this research was 300 Thai people who stayed in an organic farm-stays in Chiang Mai province. The data were analyzed using descriptive statistics such as percentage, mean and standard deviation; the differences between groups were examined using inferential statistics such as t-test and One-Way ANOVA. The study found that most of the respondents were female, aged between 18-23 years old, were undergraduate students with a monthly income of less than 5,000 baht. Most of them stay on organic farm-stays for two days and visit at least six people. The respondents were found out about farm tourism on social media with the reason for experiencing nature and will stay overnight in a shared house, an exciting activity is a campfire. Most of the respondents thought that the food should be prepared with organic products from the farm. Also, there should be souvenirs made from organic farm products and organic products should be used for the stay. The study found that the respondents perceived value at a high level through their overall Experience. In addition, the value was perceived through a high level of experience for recognizing the value of Quality, Emotional response, Monetary price and Behavior price. In contrast, the perceived value of Reputation was moderate. According to a comparative analysis of differences in perceived value in each dimension based on gender, age, and education revealed that the respondents had no difference in their perception of value in each aspect as the factors of gender. However, regarding age, the respondents had different perceptions of value in three areas: 1. Emotional response, 2. Behavioral Price, and 3. Reputation. In addition, the respondents with a bachelor's degree or higher had the perceived value in each aspect higher than those of the postgraduate level in all five areas.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectฟาร์มสเตย์en_US
dc.titleคุณค่าตามการรับรู้ผ่านประสบการณ์ของลูกค้าต่อธุรกิจฟาร์มสเตย์เกษตรอินทรีย์ในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativePerceived value through customer experience towards organic farm stay in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยวเชิงเกษตร -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเกษตรอินทรีย์ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเชียงใหม่ -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อศึกษา การรับรู้คุณค่าผ่านประสบการณ์ของลูกค้าใน การเข้าพักแบบฟาร์มสเตย์เกษตรอินทรีย์ในจังหวัดชียงใหม่ และเพื่อศึกษาความแตกต่างในการรับรู้คุณค่า ของลูกค้าชาวไทยดามลักษณะทางประชากรศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ คนไทยที่เข้าพักในรูปแบบฟาร์มสเตย์เกษตรอินทรีย์พื้นที่จังหวัดเชียงใหม่จำนวน 300 ราย สถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างกลุ่มใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ t-test และ One-Way ANOVA จากการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 18-23 ปี เป็นนักศึกษา มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีรายได้ต่อเดือนต่ำกว่า 5,000 บาท เข้าพัก 2 วัน และเข้าพัก 6 คนขึ้นไป ซึ่งรับรู้ข้อมูลจากสื่อสังคมออนไลน์ เหตุผลในการพัก คือ ต้องการสัมผัสธรรมชาติ และจะพักแบบ บ้านพักรวม โดยกิจกรรมที่สนใจ คือ การตั้งเมปีไฟ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าควรมีอาหาร ของฝาก ของที่ระลึก และผลิตภัณฑ์ของใช้จากเกษตรอินทรีย์สำหรับการเข้าพัก ผู้ตอบแบบสอบถามมีการรับรู้คุณค่าผ่านประสบการณ์โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยรับรู้คุณค่า ด้านคุณภาพ ด้านอารมณ์ ค้านคุณค่าที่เป็นตัวเงิน และด้านพฤดิกรรม อยู่ในระดับมาก ในขณะมีการรับรู้ คุณค่าด้านชื่อเสียง อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบความแดกด่างของการรับรู้คุณค่าผ่านประสบการณ์ พบว่า ปัจจัยด้านเพศ มีการรับรู้ คุณค่าทั้ง 5 ด้าน ไม่แตกต่างกัน ปัจจัยด้านอายุมีการรับรู้คุณค่าแดกต่างกัน 3 ด้าน ด้านคุณค่าเชิงอารมณ์ ด้านคุณค่าชิงราคาที่ไม่ใช่ตัวเงิน และด้านคุณค่าเชิงชื่อเสียง ส่วนปัจจัยด้านระดับการศึกษามีการรับรู้ คุณค่าทั้ง 5 ค้าน แตกต่างกัน โคยผู้ที่การศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือสูงกว่ามีการรับรู้คุณค่าผ่าน ประสบการณ์ มากกกว่า ผู้ที่มีการศึกษาในระดับต่ำกว่า ปริญญาตรีen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532151 ศิรศิญา วิชัยธนพัฒน์.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.