Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78454
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศวิพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.advisorเดชา ทำดี-
dc.contributor.authorนพดล ศรีทาen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T14:29:16Z-
dc.date.available2023-07-11T14:29:16Z-
dc.date.issued2564-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78454-
dc.description.abstractThe purpose of this descriptive research was to investigate factors related to health behaviors among persons with chronic kidney disease. The PRECEDE-PROCEED model (PRECEDE Model) of Green and Kreuter (2005) was applied to formulate the conceptual framework of the study. One-hundred and seventy-five samples were selected using the simple random sampling technique. The research instrument was a questionnaire on personal data, predisposing factors, enabling factors, reinforcing factors and health behaviors among persons with chronic kidney disease. The content validity index was .93 while the reliability indices of each questionnaire were as follows: 1) predisposing factors: knowledge about chronic kidney disease at . 71, perception of risk of having chronic kidney disease at .71, perception of severity of chronic kidney disease at .74, perception of obstacles to preventing chronic kidney disease at .79, perception of benefits of preventing chronic kidney disease at .72 and perception of one's ability to prevent chronic kidney disease at .77; 2) enabling factors: accessibility to health care service at. 77; and 3) reinforcing factors : social support at . 73; and health behaviors among persons with chronic kidney disease at . 75. The data were analyzed using descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis. The results indicated that the mean score of the health behaviors was moderate (x̅ = 80.39, SD. = 10.36). After analyzing each aspect, it was found that stress management was high (x̅ = 9.62, SD. = 1.99); exercise behavior was moderate (x̅ = 10.47, SD. = 3.25); sleeping habit was moderate (x̅ = 8.63, SD. = 1.92); general treatment and self-care practice was moderate (x̅ = 33.75, SD. = 5.60); and eating and drinking habit was low (x̅ = 17.92, SD. = 4.19). It was also found that factors that were most predictive of health behaviors among people with chronic kidney disease in the community were perception of benefits of preventing chronic kidney disease; social support; perception of risk of having chronic kidney; and knowledge about chronic kidney disease, respectively (p < .001). Moreover, the predisposing factors and reinforcing factors are positively and moderately correlated. Together they were able to predict the health behaviors of people with chronic kidney disease in the community at 52.2% with a statistical significance of .001. These findings could be used to as guidelines for developing activities or programs that promote health behaviors in patients with diabetes and hypertension that who have stage 1 or 2 chronic kidney disease. Such activities or programs should focus on the perception of benefits of preventing chronic kidney disease; the perception of risk of having chronic kidney disease; knowledge about chronic kidney disease; and every activity or program should be contributed by social support.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรคไตเรื้อรังen_US
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพในผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังในชุมชนen_US
dc.title.alternativeFactors related to health behaviors among persons with chronic kidney disease in communityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไต -- โรค -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย – การดูแล-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วยโรคเรื้อรัง-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมสุขภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อหาความสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมสุขภาพในผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังในชุมชน โดยนำ PRECEDE-PROCEED model (PRECEDE Model) โดย กรีน และ ครูเตอร์ (Green & Kreuter, 2005) มาประยุกต์ใช้เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย กลุ่มตัวอย่าง จำนวน175 คน ตัดเลือกโดยการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือในการดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล, แบบสอบถามปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และแบบสอบถาม พฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคใตเรื้อรังในชุมชน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา เท่ากับ .93 และ หาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ได้แก่ 1) ปัจจัยนำ ได้แก่ แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับโรคไตเรื้อรัง เท่ากับ .71, แบบสอบถามกรรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเรื้อรัง เท่ากับ .71, แบบสอบถาม การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรคไตเรื้อรัง เท่ากับ .74, แบบสอบถามการรับรู้อุปสรรคของการ ปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคไตเรื้อรัง เท่ากับ .79, แบบสอบถามการรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติตน เพื่อป้องกัน โรคไตเรื้อรัง เท่ากับ .72, แบบสอบถามการรับรู้ความสามารถในการปฏิบัติตนตาม คำแนะนำเพื่อป้องกัน โรคไตเรื้อรัง เท่ากับ . 77, 2) ปัจจัยเอื้อ ได้แก่ แบบสอบถามการเข้าถึงบริการ สุขภาพฯ เท่ากับ .77 และ 3) ปัจจัยเสริม ได้แก่ แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม เท่ากับ . 73 และแบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังในชุมชน เท่ากับ .75 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยด้วยสถิติพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์ถถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสุขภาพโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 80.39, SD. = 10.36) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายค้านพบว่า พฤติกรรมการจัดการความเครียด อยู่ในระดับสูง (x̅ =9.62, SD. =1.99) พฤติกรรมการออกกำลังกาย อยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 10.47, SD. = 3.25) พฤติกรรม การพักผ่อนนอนหลับ อยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 8.63, SD. = 1.92) พฤติกรรมการปฏิบัติตัวค้านการ รักษาและการดูแลตนเองทั่วไป อยู่ในระดับปานกลาง (x̅ = 33.75, SD. = 5.60) และ พฤติกรรมการ รับประทานอาหารและน้ำ อยู่ในระดับต่ำ (x̅ = 17.92, SD. = 4.19) ปัจจัยที่สามารถทำนายพฤติกรรม สุขภาพในผู้ที่เป็นโรคไตรื้อรังในชุมชนมากที่สุด ถือ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติตนเพื่อ ป้องกันโรคไตเรื้อรัง รองลงมา คือ การสนับสนุนทางสังคม, การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเรื้อรัง และความรู้เกี่ยวกับโรคใตเรื้อรัง ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยปัจจัยนำและ ปัจจัยเสริม มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง และ สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมสุขภาพ ของผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังในชุมชน ได้ร้อยละ 52.2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .001 ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนำไปใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนากิจกรรมหรือโปรแกรมส่งเสริม พฤติกรรมสุขภาพ ในผู้ที่เป็นโรคเบาหวานและความคั่นโลหิตสูงที่มีภาวะโรคใดเรื้อรัง ระดับ 1 - 2 โดยกิจกรรมหรือโปรแกรม ควรเน้นที่ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคไตเรื้อรัง, การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตเรื้อรัง และความรู้เกี่ยวกับโรคไตเรื้อรัง และทุกกิจกรรมหรือ โปรแกรมควรมีส่วนร่วมจากการสนับสนุนทางสังคมen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231012 นพดล ศรีทา.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.