Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78451
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorVarisara Sirimaharaj-
dc.contributor.advisorSittichai Wanachantararak-
dc.contributor.authorNawaporn Khositphanthawongen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T14:19:05Z-
dc.date.available2023-07-11T14:19:05Z-
dc.date.issued2021-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78451-
dc.description.abstractIntroduction: The differences in each child's caries experiences due to the different individual's enamel properties have not been well established. Objective: To investigate cutting resistance, microhardness, and their correlation with primary teeth enamel from different caries experience groups in vitro. Methods: Forty-five extracted primary molars were collected. They were divided equally into three groups using the dmft/dmft+DMFT index; low, moderate, and high caries experience groups. Each tooth was divided into 2 parts for testing cutting resistance and microhardness. The buccal part was mounted on stainless steel rod equipped with strain gauge devices for testing cutting resistance. The enamel surface was set to define the same amount of the enamel to be cut by airotor handpiece with a new diamond bur mounted on a constant speed stepping motor. The lingual part was tested with a Vickers microhardness tester. All data were compared statistically among various caries experiences using one-way ANOVA. The correlations were investigated using Spearman's and Pearson's correlation. Results: High caries experience group had significantly lower microhardness enamel (295.8 ±12.73 VHN) than the moderate and low caries experience groups (315.01±16.13 VHN and 325.96±9.91 VHN, respectively). The cutting resistance of enamel from the high caries experience group (87.23±15.06 grams) was also significantly less than those from moderate and low caries experience groups (112.78±16.02 grams and 111.67±24.75 grams, consecutively). There were negative correlations between caries experience and cutting resistance (r = -0.46) and between caries experience and microhardness(r = -0.71) but a positive correlation between cutting resistance and microhardness (r= 0.39). Conclusion: Enamel of primary teeth from the high caries experience group had less microhardness and cutting resistance than moderate and low caries experience groups. Further investigation is required to correlate other enamel physical properties with caries experience in both dentitions.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleMicrohardness and cutting resistance in enamel of primary molars among various caries experience groups in vitroen_US
dc.title.alternativeความแข็งระดับไมโครและความต้านทานการกรอของชั้นเคลือบฟันในฟันกรามน้ำนมในกลุ่มที่มีประสบการณ์การเกิดฟันผุแตกต่างกันในห้องปฏิบัติการen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDental caries-
thailis.controlvocab.lcshDental enamel-
thailis.controlvocab.lcshMolars-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบทนำ: ความแตกต่างของประสบการณ์การเกิดฟันผุในเด็กจากการมีคุณสมบัติของชั้นเคลือบ ฟันที่แตกต่างกันนั้นยังมีอยู่น้อยและยังไม่มีข้อสรุป วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความด้านทานการกรอความแข็งระดับไมโครและสหสัมพันธ์ของชั้น เคลือบฟันในฟันกรามน้ำนม จากกลุ่มที่มีประสบการณ์การเกิดฟันผุที่แตกต่างกัน วิธีดำเนินการวิจัย: ฟันกรามน้ำนม 45 ซึ่งถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มเท่าๆกันตามประสบการณ์การ เกิดฟันผุโดยใช้ค่าฟันผุ อุด ถอน ได้แก่ กลุ่มมีประสบการณ์ฟันผุต่ำ ปานกลางและสูง ฟันแต่ละซี่ถูก แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ค้านใกล้แก้มและด้านใกล้ลิ้น ชิ้นตัวอย่างค้านใกล้แก้มถูกยึดติดกับแท่งเหล็ก ไร้สนิม ที่มีอุปกรณ์วัดความเครียดติด คตั้งอยู่ เพื่อใช้สำหรับการทคสอบความด้านทานการกรอ ผิว เคลือบฟันของชิ้นตัวอย่างแต่ละชิ้น จะถูกกรอตัดในปริมาณที่เท่าๆกัน โคยใช้ด้ามกรอแบบกรอเร็วที่ ถูกควบคุมโดยสเต็ปปิ้งมอเตอร์ เพื่อให้มีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่และเปลี่ยนหัวกรอใหม่ทุกครั้ง ในการทคสอบ ชิ้นตัวอย่างด้านใกล้ลิ้น นำไปใช้ทดสอบความแข็งระดับไมโครด้วยเครื่องทดสอบ ความแข็งแบบวิคเกอร์ นำข้อมูลทั้งหมดไปเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของความต้านทานการกรอและความ แข็งระดับไมโครของชิ้นตัวอย่างในแต่ละกลุ่ม ด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและวิ เคราะห์สหสัมพันธ์ด้วยสถิดิสหสัมพันธ์ของสเปียร์และเพียร์สัน ผลการศึกษา: ค่าความแข็งระดับไมโครของชั้นเคลือบฟันจากกลุ่มประสบการณ์ฟันผุสูง (295.8±12. 73 VHN) มีค่าต่ำกว่าจากกลุ่มประสบการณ์ฟันผุต่ำ (315.01±16.13 VHN) และกลุ่ม ประสบการณ์ฟันผุปานกลาง (325.96±9.91 VHN) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าความค้านทานการกรอ ของชั้นเคลือบฟันจากกลุ่มประสบการณ์ฟันผุสูง (87. 23±15.06 กรัม) มีค่าต่ำกว่าจากกลุ่มประสบ การณ์ฟันผุต่ำ (111.67±24.75 กรัม) และกลุ่มประสบการณ์ฟันผุปานกลาง (112.78±16.02 กรัม) อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติเช่นเดียวกัน จากการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ พบสหสัมพันธ์เชิงลบระหว่างประสบ การณ์ฟันผุและความค้านทานการกรอ (ค่าส้มประสิทธิสหสัมพันธ์ = -0.46) และ ระหว่างประสบการณ์ ฟันผุและความแข็งระดับไมโคร (ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ = -0.71) พบสหสัมพันธ์เชิงบวกระหว่าง ความต้านทานการกรอและความแข็งระดับไมโคร (ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ = 0.39) บทสรุป: ชั้นเคลือบฟันของฟันน้ำนมจากกลุ่มประสบการ์ณฟันผุสูงมีค่าความแข็งระดับไมโคร และความต้านทานการกรอต่ำกว่ากลุ่มประสบการณ์ฟันผุปานกลางและต่ำ จำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่ม เติมถึงสหสัมพันธ์ระหว่างคุณสมบัติชั้น เคลือบฟันอื่นๆและประสบการณ์ฟันผุทั้งในชุดฟันน้ำน ชุดฟันแท้ในการศึกษาต่อๆไปen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931016 นวพร โฆษิตพันธวงศ์.pdf10.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.