Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78429
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิสระ บุญญะฤทธิ์-
dc.contributor.authorณัฐกานต์ เป็นต้นen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T10:22:27Z-
dc.date.available2023-07-11T10:22:27Z-
dc.date.issued2564-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78429-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the relationship between perceived transformational leadership, job crafting and job performance among Starbucks Coffee Staff; to investigate the mediating role of job crafting in relation between perceived of transformational leadership and job performance of Starbucks Coffee Staff. Data were collected from 220 staff who were working in Chiang Mai, Lamphun, and Lampang. Mediation effects was tested using PROCESS macro by Model 4 with Bootstrap method, through 5,000 iterations of the sample. 1. Perceived transformational leadership had a significant positive correlation with job crafting and job performance at the .01 level (r =.571 and .371 respectively). 2. Job crafting had a signification positive correlation with job performance at the .01 level (r =.503). 3. Job crafting mediated the relationship between perceived of transformational leadership and job performance of Starbucks Staff with an indirect coefficient = .406. Result from 95% CI method of Bootstrap found that indirect coefficient ranged from .201 to .620. The values did not contain zero, then the effect was significant. 4. When considering the regression coefficient of perceived transformational leadership on job performance when controlling for job crafting (the mediating), it was found that the direct effect was not significant. This indicate that job crafting played the complete mediating role of the relationship between perceived of transformational leadership and job performance in Starbucks Coffee Staff.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานสตาร์บัคส์คอฟฟี่ : บทบาทของการแต่งเติมงานในฐานะตัวแปรสื่อen_US
dc.title.alternativeRelationship between perceived transformational leadership and job performance of Starbucks coffee staff: the mediating role of job craftingen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashบริษัท สตาร์บัคส์ -- พนักงาน-
thailis.controlvocab.thashภาวะผู้นำ-
thailis.controlvocab.thashการบริหารงานบุคคล-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาบุคลากร-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนากำลังคน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลง การแต่งเติมงาน และผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทสตาร์บัคส์ และศึกษาบทบาท ของการเป็นตัวแปรสื่อของการแต่งเติมงานในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำการ เปลี่ยนแปลงกับผลการปฏิบัติการของพนักงานบริษัทสตาร์บัคส์ โดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็น บุคลากรที่ทำงานในบริษัทสตาร์บัคส์ในจังหวัดเชียงใหม่ ลำพูนและลำปาง โดยมีประสบการณ์ใน บริษัทปัจจุบันอย่างน้อย 6 เดือน จำนวน 220 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์อิทธิพลสื่อด้วย โปรแกรม PROCESS macro กำหนดโดย Model 4 และดำเนินการวิเคราะห์ด้วยวิธี Bootstrap โดย กำหนดจำนวนการสุ่มตัวอย่างซ้ำทั้งสิ้น 5,000 ครั้ง ผลการวิจัยพบว่า 1. การรับรู้ผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการแต่งเติมงาน และผลการ ปฏิบัติงานของพนักงานสตาร์บัคส์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันเท่ากับ .571 และ .371 ตามลำดับ 2. การแต่งเติมงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานสตาร์บัคส์อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันเท่ากับ .503 3. การแต่งเติมงานเป็นตัวแปรสื่อของความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง กับผลการปฏิบัติงานของพนักงานสตาร์บัคส์ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลทางอ้อมเท่ากับ .406 เมื่อ พิจารณา 95% CI ด้วยวิธีการ Bootstrap พบว่ามีค่าส้มประสิทธิ์อิทธิพลทางอ้อมอยู่ในช่วง .201 ถึง .620 ค่าดังกล่าวไม่คร่อมศูนย์ แสดงว่าค่าอิทธิพลทางอ้อมของความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำ การเปลี่ยนแปลงกับผลการปฏิบัติงาน ที่มีการแต่งเติมงานเป็นตัวแปรสื่อ มีนัยสำคัญทางสถิติ 4. เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิถดถอยของการรับรู้ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อผลการ ปฏิบัติงาน เมื่อควบคุมการแต่งเติมงาน (ตัวแปรสื่อ) พบว่าไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงว่าการแต่งเติม งานมีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อแบบสมบูรณ์ (Complete Mediation) ในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ บทบาทภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานสตาร์บัคส์en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600132044 ณัฐกานต์ เป็นต้น.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.