Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดารัตน์ ชัยอาจ-
dc.contributor.advisorชมพูนุท ศรีรัตน์-
dc.contributor.authorเปรมฤดี บริบาลen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T10:12:38Z-
dc.date.available2023-07-11T10:12:38Z-
dc.date.issued2564-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78426-
dc.description.abstractEnd stage renal disease patients receiving hemodialysis often experience a low quality of life. Therefore, interventions to improve quality of life among end stage renal disease patients receiving hemodialysis are important. The objective of this systematic review was to summarize the effectiveness of program interventions to enhance the quality of life among end stage renal disease patients receiving hemodialysis. The systematic search strategy focused on randomized controlled trials (RCTs) and quasi-experimental, published or unpublished research studies in Thai or English, reported between 2003 and 2020. The review used a systematic review strategy of the Joanna Briggs Institute (Joanna Briggs Institute [JBI], 2017) for the guideline process. The quality of the study was evaluated using the Critical Appraisal Tool for RCTs and the Critical Appraisal Tool for Quasi- Experimental Studies (JBI, 2017). by Chiang Mai University A total of 147 full texts were screened and 54 studies met the inclusion criteria. Thirty-four studies met the study quality using the Critical Appraisal checklists, and these included 1 9 randomized controlled trial (RCTs) studies and 15 quasi-experimental studies. Fifteen studies were eligible for meta-analysis. Interventions to improve quality of life among end stage renal disease patients receiving hemodialysis included 1) exercise, 2) education, 3) psychological interventions, 4) visual imagery, 5) occupational therapy, 6) physical therapy, 7) complementary medicine, and 8) nursing interventions. Meta-analysis results show that exercise can improve quality of life in the physical health domain, with an SMD of 0.66 (95% CI 0.30-1.02, p < .0001). Resistance exercise improved quality of life in the physical domain (SMD 0.77, 95% CI 0.22-1.33, p = .006). A combination of aerobic and resistance exercise did not improve quality of life in the physical and mental health domain. In addition, moderate heterogeneity was found. Education did not improve quality of life and other interventions could not summarize because of few studies included. These systematic review results suggested that exercise improve the quality of life regarding physical health. Use of this intervention should be monitored periodically. Other interventions should be conducted to summarize their effectiveness.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดกระทำเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม: การทบทวนอย่างเป็นระบบen_US
dc.title.alternativeInterventions to improve quality of life among end stage renal disease patients receiving hemodialysis: a systematic reviewen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไต -- โรค -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม-
thailis.controlvocab.thashคุณภาพชีวิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมมักพบว่ามีคุณภาพชีวิตต่ำ ดังนั้นการจัดกระทำเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคใดเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ใส้รับการฟอกเลือดด้วย เครื่องไตเทียมจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ การทบทวนอย่างเป็นระบบครั้งนี้มีวัตุประสงค์ เพื่อศึกษาการจัดกระทำ และประสิทธิผลของการจัดกระทำเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคไตรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการ ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม โดยเป็นการสืบต้นเกี่ยวกับร้ายงานการวิจัยเชิงทดลองที่มีการออกแบบ โดยมีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับการทคลอง และงานวิจัยกึ่งทดลองที่ศึกษาเกี่ยวกับ วิธีการจัดกระทำเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรค ไตเรื้อรังระยะ สุดท้ายที่ได้รับการฟอกเลือดด้วย เครื่องไตเทียม ที่ได้รับการตีพิมพ์และ ไม่ได้ตีพิมพ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษที่รายงานไว้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 ถึง ค.ศ. 2020 โดยใช้วิธีการการทบทวนอย่างเป็นระบบของสถาบันโจแอนนาบริกส์ (Joana Briggs Institute [JBI], 2017) ประเมินคุณภาพงานวิจัย และการสกัดข้อมูลงานวิจัยโดยใช้ เครื่องมือ the Critical Appraisal Tool for RCTs และ the Critical Appraisal Tool for Quasi-Experimental Studies ที่พัฒนาโดยสถาบันโจแอนนาบริกส์ (JBI, 2017) จากการคัดเลือกจากงานวิจัยฉบับเต็ม จำนวนทั้งหมด 147 เรื่อง พบงานที่เป็นไปตามเกณฑ์การ คัดเข้าจำนวน 54 เรื่อง มีงานวิจัยที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกตามการประเมินคุณภาพงานวิจัย จำนวน 34 เรื่อง ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงทดลองที่มีการออกแบบโดยมีกลุ่มควบคุมและมีการสุ่มตัวอย่างเข้ารับการทคลอง จำนวน 19 เรื่อง และการศึกษากึ่งทดลองจำนวน 15 เรื่อง และมีงานวิจัยที่นำเข้าสู่การวิเคราะห์อภิมาน (meta-analysis) ทั้งหมด 15 เรื่อง ผลการศึกษา พบว่ามีวิธีการจัดกระทำเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต ได้แก่ 1) การออกกำลังกาย 2) การ ให้ความรู้ 3) การจัดกระทำทางจิตวิทยา 4) การ ใช้จินตภาพ 5) กิจกรรมบำบัด 6 กายภาพบำบัด 7) การแพทย์ทางเลือก และ 8) กิจกรรมการพยาบาล สำหรับประสิทธิผลของการจัดกระทำพบว่า การออกกำลังกายสามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตด้านร่างกาย ผู้ป่วยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (SMD 0.66, 95% CI 0.30-1.02, p <.0001) โดยการออกกำลังกาย แบบต้านแรงสามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยด้านร่างกายได้ อย่างมีนัยสำกัญทางสถิติ (SMD 0.77, 95% CI 0.22-1.33, p =.006) การออกกำลังกายร่วมกันทั้งแบบแอโรบิกและต้านแรงไม่มีผลต่อ คุณภาพชีวิตผู้ป่วยด้านร่างกายและด้านจิตใจ นอกจากนี้งานวิวัยที่นำมาวิเคราะห์มีความไม่เป็นเอกพันธ์ ในระดับปานกลาง สำหรับการให้ความรู้ไม่สามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้ ส่วนวิธีการ จัดกระทำอื่นๆ พบว่ายังไม่สามารถสรุปผลได้ชัดเจนเนื่องจากมีการศึกษาจำนวนน้อย การทบทวนอย่างเป็นระบบครั้งนี้ ให้ข้อเสนอแนะว่าการออกกำลังกาย สามารถเพิ่มคุณภาพชีวิต ผู้ป่วยด้านร่างกายได้ การนำไปใช้ควรมีกรประเมินติดตามผู้ป่วยเป็นระยะ ๆ ส่วนการจัดกระทำโดย วิธีอื่น ๆ ควรมีการศึกษาเพิ่มเดิมเพื่อสรุปประสิทธิผลของการจัดกระทำen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591231032 เปรมฤดี บริบาล.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.