Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78415
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาสกร เตวิชพงศ์-
dc.contributor.authorชนัฐกานต์ เพชรสีโชติen_US
dc.date.accessioned2023-07-11T00:44:16Z-
dc.date.available2023-07-11T00:44:16Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78415-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to (1) investigate the relationships among job autonomy, co-worker support, performance feedback, positive orientation, and work engagement, and (2) examine the predictive power of job autonomy, co-worker support, performance feedback, and positive orientation to work engagement of employees in a state agency. The research sample comprised 274 full-time employees in a state agency, the sample group was selected by convenience sampling. The instruments used in this study were (1) a Job Autonomy Scale (2) Co-Worker Support Scale (3) a Performance Feedback Scale (4) a Positive Orientation Scale (5) a Work Engagement Scale and (6) a demographic questionnaire. The data were analyzed using descriptive statistics, Pearson’s correlation coefficient analysis, and multiple regression analysis. The research results were as follows: 1. Job autonomy had a significantly positive correlation with Work engagement at the .01 level (r = .32). 2. Co-worker support had a significantly positive correlation with Work engagement at the .01 level (r = .42). 3. Performance Feedback had a significantly positive correlation with Work engagement at the .01 level (r = .24). 4. Positive Orientation had a significantly positive correlation with Work engagement at the .01 level (r = .52). 5. The findings demonstrated that predictive variables consisting of job autonomy, co-worker support, performance feedback and positive orientation significantly explained the variance of work engagement of employees in a state agency (p < .01; R^2= .42).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยทางบวกที่พยากรณ์ความผูกพันต่องาน ของพนักงานหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่งen_US
dc.title.alternativePositive factors predicting work engagement of employees in a state agencyen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความผูกพันต่อองค์การ-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashคุณภาพชีวิตการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashการทำงาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีอิสระในงาน การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน ข้อมูลย้อนกลับจากการปฏิบัติงานแนวโน้มเอียงทางบวก และความผูกพันต่องาน (2) เพื่อศึกษาอำนาจพยากรณ์ของการมีอิสระในงาน การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน ข้อมูลย้อนกลับจากการปฏิบัติงาน แนวโน้มเอียงทางบวก ที่มีต่อความผูกพันต่องานของพนักงานหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่ง กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือพนักงานหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่งจำนวน 274 คน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบวัดการมีอิสระในงาน (2) แบบวัดการสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน (3) แบบวัดข้อมูลย้อนกลับจากการปฏิบัติงาน (4) แบบวัดของแนวโน้มเอียงทางบวก (5) แบบวัดความผูกพันต่องาน และ (6) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1. การมีอิสระในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่องานของพนักงานหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .32 2. การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่องานของพนักงานหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .42 3. ข้อมูลย้อนกลับจากการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่องานของพนักงาน หน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .24 4. แนวโน้มเอียงทางบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันต่องานของพนักงานหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่งอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .52 5. ตัวแปรพยากรณ์ประกอบด้วยการมีอิสระในงาน การสนับสนุนจากเพื่อนร่วมงาน ข้อมูลย้อนกลับจากการปฏิบัติงานและแนวโน้มเอียงทางบวก สามารถร่วมกันพยากรณ์ความผูกพันต่องานของพนักงานหน่วยงานของรัฐแห่งหนึ่งได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของความผูกพันต่องานได้ร้อยละ 42en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610132033-Chanutkarn-Phetsrichot.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.