Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78412
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมลิน เหล่าศิริถาวร-
dc.contributor.authorณัฐธิดา ฟูจิวาราen_US
dc.date.accessioned2023-07-10T10:00:52Z-
dc.date.available2023-07-10T10:00:52Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78412-
dc.description.abstractThis research introduces the improvement of the surface mount technology process using lean manufacturing technique to improve and reduce takt time in the process. Therefore, in process of surface mount technology cannot produce products that meet customer demand. Currently, this process cannot produce sufficient products to meet customer demand 1,100 pieces per day in 10 sub processes, material prepare process, FPC stick on carrier process, lot number printing process, solder screen printing process, screen printing inspection process, chip mounting process, reflow soldering process, remove FPC from carrier process, appearance check process and packing process. In order to improve processes, standard time of each process was determined and were created analysis improvement by value stream mapping. Lean thinking were used for improvements to analyze root cause and solve problems, including changing floor plant layout to reduce lead time and non-value-added activities. For the evaluation of the result, compare takt time and activities before-after improvement and compare reduce rate after improve. The implementation of improvements focuses on reducing bottleneck takt time in each process. At material prepare process improve by changing the baking tray size for more quantity input. Besides, FPC stick on carrier process change jig from resin carrier to magnet carrier effect to remove FPC from carrier process can cancel method attached tape and remove tape in the process. At Chip mounting process rearrange electronic part for mounting machine easily pick up part. And creating jig at appearance check process reduce time for operator checking after improvement, the result of this study can achieve the goal. Productivity improve from 1,037 pieces per day to 1,352 pieces per day can achieve demand of customer. Cycle time reduce from 83.63 sec per piece to 67.89 sec per piece reduce rate 18.82%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการเทคโนโลยีการยึดบนผิวงานโดยใช้เทคนิคการผลิตแบบลีนen_US
dc.title.alternativeImprovement of surface mount technology process using lean manufacturing techniqueen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการผลิตแบบลีน-
thailis.controlvocab.thashการลดปริมาณของเสีย-
thailis.controlvocab.thashกรรมวิธีการผลิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยชื้นนี้นำเสนอแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการเทคโนโลยีการยึดบนผิวงานโดย ใช้เทคนิคการผลิตแบบลีน โดยมีวัตถุประสงค์คือเพื่อปรับปรุงกระบวนการและลดเวลาผลิต เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์ในกระบวนการไม่สามารถผลิตได้ทันความต้องการของถูกค้า ซึ่งมีความต้องการอยู่ที่ 1,100 ชื้นต่อวัน จึงได้นำแนวคิดถีนเพื่อทำการปรับปรุงในกระ บวนการเทคโนโลยีการยึดบนผิวงาน ใน กระบวนการ 10 ขั้นตอน ได้แก่ กระบวนการเตรียมแผงวงจร, กระบวนการติดแผงวงจรเข้ากับถาด, กระบวนการพิมพ์เลขล็อต, กระบวนการโซลเดอร์สกรีน, กระบวนการตรวจสอบโซเดอร์สกรีน, กระบวนการวางชื้นส่วนอิล็กทรอนิกสั่ลงบนวงจร, กระบวนการรีโฟล์ว, กระบวนการแกะแผงวงจร แบบอ่อนออกจากถาด, กระบวนการตรวจสอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และกระบวนการบรรจุ เพื่อ ปรับปรุงกระบวนการจึงทำการศึกษาและเก็บข้อมูลเวลามาตรฐานแต่ละกระบวนการ รวมถึงการสร้าง แผนผังสายธารคุณค่า และใช้แนวคิดลื่นเพื่อวิเคราะห์สาเหตุปัญหาในกระบวนการเพื่อนำไปทำการ แก้ไข รวมทั้งปรับเปลี่ยนแผนผังโรงงน เพื่อลดเวลาและกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความสูญเปล่าใน กระบวนการ โดยการประเมินผลจะทำการเปรียบเทียบกระบวนการก่อนปรับปรุงและหลังปรับปรุง ในด้านเวลาและกิจกรรมในกระบวนการผลิต และเปรียบเทียบเปอร์เซ็นที่ลดลง จากการดำเนินการปรับปรุงการผลิต ทำการปรับปรุงในกระบวนการที่เป็นคอขวด ได้แก่ กระบวนการเตรียมแผงวงจร ได้มีการเปลี่ยนขนาดถาดอบให้สามารถบรรจุงานได้เพิ่มมากขึ้น, กระบวนการติดแผงวงจรเข้ากับถาด ได้มีการเปลี่ยนถาดเรซิ่นเป็นถาดแม่เหลี่กส่งผลต่อกระบวนการ แกะแผงวงจรแบบอ่อนออกจากถาด ทำให้ยกเลิกขั้นตอนการติดเทปและการแกะเทปได้,กระบวนการวางชิ้นส่วนอิล็กทรอนิกส์ลงบนวงจร มีการจัดวางชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ทำให้ เครื่องจักรสามารถหยิบใช้ง่ายขึ้น และ กระบวนการตรวจสอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ได้สร้าง อุปกรณ์เพื่ออำนวยความสะดวกในการทำงานทำให้ลดเวลาสำหรับพนักงานในการตรวจสอบชิ้นงาน โดยผลวิจัยสามารถบรรจุวัตถุประสงค์ กำลังการผลิตเพิ่มขึ้นจาก 1,037 ชิ้นต่อวันเป็น1,352 ชิ้นต่อวัน ซึ่งเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า สามารถลดรอบเวลาในกระบวนการทั้งหมดจาก 83.63 วินาที ต่อขึ้น เหลือ 67.89 วินาทีต่อชิ้น สามารถลครอบเวลาทั้งหมดได้คิดเป็น18.82%en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640632011 ณัฐธิดา ฟูจิวารา.pdf8.94 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.