Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPathawee Khongkhunthien-
dc.contributor.authorPrapasiri Diaoprachayaraken_US
dc.date.accessioned2023-07-09T05:53:39Z-
dc.date.available2023-07-09T05:53:39Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78395-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to investigate the accuracy of universal-use spring-style torque wrenches and adjustable toggle torque wrenches. Two commonly used torque wrenches (spring type and adjustable toggle type) have been included in the study. Three new spring wrenches and three new adjustable toggle wrenches were measured their peak torque outputs regarding to the using order from 1st to 2000th application. All wrenches were indicated to generate 30 Ncm while tested. The data obtained was calculated for the accuracy using student’s t-test. The correlation between torque outputs and using times was analyzed using Pearson’s correlation coefficient test. At the target torque 30 Ncm, means torque output of spring type and toggle type were 31.3133±0.37554 Ncm and 32.6533±1.37863 Ncm respectively. There was no significant difference between torque values of both types (ρ=0.180). Within 2000 torque applications, means of spring type and toggle type were found to deviate from the target torque 4.38% (ρ<0.05) and 8.85% (ρ>0.05) respectively. Conclusions: Within the limitation of the study, it may be concluded that after 2000 times of usage, the two mostly used torque wrench types in dental implant treatment provide ±10% accurate torque value to tighten the abutment screw.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleTorque value of two different dental implant torque wrenches after 2000-time usage: an in vitro comparative studyen_US
dc.title.alternativeค่าแรงบิดของประแจไขรากฟันเทียม 2 ชนิดภายหลังการใช้งาน 2000 ครั้ง: การศึกษาเชิงเปรียบเทียบในห้องปฏิบัติการen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshDental implants-
thailis.controlvocab.lcshTorque-
thailis.controlvocab.lcshWrenches-
thailis.controlvocab.lcshScrews-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลความแม่นยำของประแจขันรากฟันเทียมแบบสากลชนิดสปริงและชนิดสลักข้อต่อปรับค่าได้ วัสดุและวิธีการ: ประแจไขรากฟันเทียมที่มีความนิยมใช้งาน 2 ชนิด ได้แก่ ประแจไขรากฟันเทียมชนิดสปริง และชนิดสลักข้อต่อปรับค่าได้ (spring type and adjustable toggle type) ถูกนำมาใช้ในการศึกษา โดยประแจที่ยังไม่ผ่านการใช้งาน ชนิดละ 3 ตัวอย่าง แต่ละอันจะถูกนำมาไข 2000 ครั้ง แล้ววัดค่าแรงบิดสูงสุดที่เกิดขึ้นและบันทึกข้อมูล ในการทดสอบค่าแรงบิดจะถูกกำหนดไว้ที่ 30 นิวตันเซนติเมตร ค่าแรงบิดสูงสุดที่เกิดขึ้นจะถูกนำมาคำนวณหาความแม่นยำโดยใช้การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยที (student’s t-test) ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างแรงบิดสูงสุดที่เกิดขึ้นกับครั้งที่ไขจะถูกนำมาวิเคราะห์โดยการทดสอบหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา: ที่ค่าแรงบิดที่ถูกกำหนดไว้ที่ 30 นิวตันเซนติเมตร ค่าเฉลี่ยแรงบิดสูงสุดของประแจไขรากฟันเทียมชนิดสปริงและชนิดสลักข้อต่อปรับค่าได้ คือ 31.3133±0.37554 นิวตันเซนติเมตร และ 32.6533±1.37863 นิวตันเซนติเมตร ตามลำดับ ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างแรงบิดที่เกิดขึ้นของประแจไขรากฟันเทียมทั้งสองชนิด (ρ=0.180) ในการไขจำนวน 2000 ครั้ง ค่าเฉลี่ยแรงบิดสูงสุดของประแจไขรากฟันเทียมชนิดสปริงและชนิดสลักข้อต่อปรับค่าได้ มีความคลาดเคลื่อนจากค่าแรงบิดที่ถูกกำหนดไว้ 4.38% (ρ<0.05) และ 8.85% (ρ>0.05) ตามลำดับ สรุปผลการศึกษา: ด้วยข้อจำกัดในการศึกษาพบว่าภายหลังจากการใช้งานประแจไขรากฟันเทียม 2000 ครั้ง ค่าแรงบิดของประแจชนิดที่นิยมใช้มากที่สุดทั้งสองชนิด ให้ความแม่นยำภายใน 10% ของค่าแรงบิดที่กำหนดไว้en_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931022 - Prapasiri Diaoprachayarak.pdf2.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.