Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78392
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤมล กิมภากรณ์-
dc.contributor.authorเตชิษ สันสีen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T05:31:37Z-
dc.date.available2023-07-09T05:31:37Z-
dc.date.issued2022-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78392-
dc.description.abstractThe independent study on Perception of Bachelor’s Degree Students Towards Brand Identity and Corporate Brand Engagement of Rajamangala University of Technology Lanna is a quantitative research that aimed to study identity perception and corporate brand engagement, and to test the differences between the perception of identity and the engagement in corporate branding of the students of Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai. The questionnaire was used to collect data from 388 samples which included senior students from 3 faculties in Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai. Research data analysis applied descriptive and inferential statistics, i.e. frequency, percentage, mean, One-Way ANOVA correlation analysis, and Multiple Linear Regression Analysis. The results of the study found that the majority of respondents were female (55.00%) and male (45.00%). Most of respondents were 22 years old (41.42%). Also, most of them studied at the Faculty of Business Administration and Liberal Arts (48.52%), followed by the Faculty of Engineering (37.84%), and the Faculty of Fine Arts and Architecture (13.61%), respectively. The respondents had a high level of both perception on overall identity and on engagement towards Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai. The analysis result of the brand identity to corporate brand engagement of the students of Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai found that the respondents from each faculty presented the overall corporate brand engagement differently in the confidence in the brand aspect. The averages in each aspects sorted from highest to lowest as follows: confidence in the brand, brand integrity, pride in brand, and passion for the brand, respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรับรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีต่ออัตลักษณ์และความผูกพันในตราผลิตภัณฑ์องค์กรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา เชียงใหม่en_US
dc.title.alternativePerception of bachelor’s degree students towards brand identity and corporate brand engagement of Rajamangala University of Technology Lannaen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการรับรู้-
thailis.controlvocab.thashความภักดีต่อชื่อตราผลิตภัณฑ์-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระเรื่อง การรับรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีต่ออัตลักษณ์และความผูกพันในตราผลิตภัณฑ์องค์กรของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ เป็นการวิจัย เชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้อัตลักษณ์ ความผูกพันกับตราผลิตภัณฑ์องค์กร และทดสอบความแตกต่างของการการรับรู้อัตลักษณ์และความผูกพันกับตราผลิตภัณฑ์องค์กรของนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 338 ราย จากนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย จำนวน 3 คณะในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านน เชียงใหม่ มีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ One-Way ANOVA พร้อมทั้งวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression Analysis) ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 55.00 และเพศชาย ร้อยละ 45.00 ส่วนใหญ่มีอายุ 22 ปี ร้อยละ 41.42 และส่วนใหญ่ศึกษาคณะบริหารธุรกิจ และศิลปกรรมศาสตร์ ร้อยละ 48.52 รองลงมาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ร้อยละ 37.84 และ คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ ร้อยละ 13.61 ตามลำดับ ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับการรับรู้อัตลักษณ์ภาพรวม และมีระดับความผูกพันกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ อยู่ในระดับ มาก ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบอัตลักษณ์ตราผลิตภัณฑ์ที่มีต่อความผูกพันในตราผลิตภัณฑ์องค์กร ของศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามแต่ละคณะมีระดับความผูกพันในตราผลิตภัณฑ์องค์กรแตกต่างกันทุกคณะในองค์ประกอบ ด้านความมั่นใจที่ลูกค้ามีต่อตราผลิตภัณฑ์ โดยค่าเฉลี่ยในแต่ละองค์ประกอบสามารถเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความมั่นใจที่ลูกค้าที่มีต่อตราผลิตภัณฑ์ ด้านการรับรู้ในคุณธรรมของตราผลิตภัณฑ์ ด้านความภาคภูมิใจที่ลูกค้ามีต่อตราผลิตภัณฑ์ และด้านความรักที่ลูกค้ามีต่อ ตราผลิตภัณฑ์ ตามลำดับen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532209 Taechit Sansi Final.pdf4.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.