Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายนที เฉินบำรุง-
dc.contributor.authorสุวิมล รอบวนานิยมen_US
dc.date.accessioned2023-07-09T05:01:13Z-
dc.date.available2023-07-09T05:01:13Z-
dc.date.issued2022-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78386-
dc.description.abstractThis study aimed to examine user expectation and perception of spas in Mueang Chiang Mai district towards spa service quality compliant with spa establishment standard. In this study, the samples were 400 users who received spa services from spas in Chiang Mai district. Data were analyzed by the descriptive statistics: frequency, percentage, means, and standard deviation, and the inferential statistics: Paired Samples T-test to compare the two different sample groups’ means on expectation and perception. The findings revealed that based upon general information of the total of 400 users, they were female in the age of 31-40 years old. They worked as government officials/state-enterprises employees with an education background in bachelor’s degree or equivalence. Their average monthly income was 15,001-25,000 Baht. In an overview, their expectation and perception were mostly rated at high level. According to the Paired Sample T-test, result of the comparison between two different sample groups’ means on expectation and perception could be summarized that the H1 hypothesis testing was accepted. This result implied that for the users of spas in Mueang Chiang Mai district, the means of perception were higher than the means of expectation at 0.01 level of statistical significance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ใช้บริการสปาที่ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อคุณภาพการบริการตามมาตรฐานสถานประกอบการสปาen_US
dc.title.alternativeUser expectation and perception of spas in Mueang Chiang Mai district towards spa service quality compliant with spa establishment standarden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashธุรกิจสปา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการรับรู้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษางานวิจัยเรื่อง ความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ใช้บริการสปาที่ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อคุณภาพการบริการตามมาตรฐานสถานประกอบการสปา มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ใช้บริการสปาที่ตั้งอยู่ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อคุณภาพการบริการตามมาตรฐานสถานประกอบการสปา กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการ ที่เคยใช้บริการสปาในสถานบริการสปา ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมาน โดยใช้สถิติ Paired Samples T-test ใช้เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ความคาดหวังและการรับรู้ จากการศึกษา พบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการจำนวนทั้งสิ้น 400 คน เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ประกอบอาชีพ รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ มีระดับการศึกษา ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท และข้อมูลความคาดหวังและการรับรู้ของผู้ใช้บริการภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด และผลการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ความคาดหวังและการรับรู้ โดยใช้ Paired Sample T-test สรุปได้ว่า ยอมรับสมมติฐาน H1 : ซึ่งหมายความว่า ค่าเฉลี่ยการรับรู้ของผู้ใช้บริการมากกว่าค่าเฉลี่ยความคาดหวังของผู้ใช้บริการสปาที่ตั้งอยู่ใน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01  en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631532033 สุวิมล รอบวนานิยม.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.