Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJuthathip Chalermphol-
dc.contributor.advisorRuth Sirisunyaluck-
dc.contributor.advisorSukit Kanjina-
dc.contributor.authorTaveechai Khamtaveeen_US
dc.date.accessioned2023-07-07T10:02:05Z-
dc.date.available2023-07-07T10:02:05Z-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78367-
dc.description.abstractThis research employs a quantitative research approach with the following objectives: 1) To identify digital technology utilization for agricultural production by farmers in Chiang Mai province, 2) To analyze factors affecting digital technology utilization for agricultural production, and 3) To provide policy recommendations for farmer extension on digital technology utilization for agricultural production. Data were collected through structured interviews with 369 households of farmers aged between 18-45 years from seven sub-districts in Mae Chaem District, Chiang Mai province. The data were analyzed using descriptive statistics, including measures of central tendency, standard deviation, maximum, and minimum values, to describe the data. Furthermore, multiple regression analysis was performed to analyze the relationship between dependent and independent variables. The study found that more than half of the farmers are female (51.76%). The average age is 37 years, with the age group between 31 - 40 years being the most common (41.73%). The majority completed their education at the primary level (43.63%). The average farming experience was 15 years, with an average agricultural area of 16.81 rai. The main agricultural activity was maize cultivation. The average total household income was 106,857 baht per year, with an average income from agriculture of 93,195 baht per year. The majority of farmers (63.59%) were members of agricultural organizations. All farmers received agricultural information through online social media platforms such as Facebook, LINE, and YouTube (96.20%). All farmers had internet access and used it on their devices (99.19%). All farmers used smartphones, while only ten people used laptops, and one used desktop computers and tablets. The average experience of using smartphones was about five years, and most farmers learned to use them by themselves. The preferred usage time was between 18:01 and 21:00 and 09:01 - 12:00. The main purpose of using technology was communication among fellow farmers through LINE and Facebook (more than 89.00%). It was also employed for searching and accessing agricultural information through YouTube and accessing weather forecasts (more than 86.00%). Additionally, satellite image was utilized by 67.21% of farmers for data collection purposes. The behavior reflecting farmers' intention to use digital technology for agricultural production was generally high ("x" ̅ = 3.43). When considering each aspect, it is found that the following aspects were rated at a high level: effort expectation ("x" ̅ = 3.68), facilitating conditions ("x" ̅ = 3.62), expectation of effectiveness (mean = 3.59), price value (mean = 3.54) and hedonic motivation ("x" ̅ = 3.52) However, two aspects were rated at a moderate level: social influence ("x" ̅ = 2.72) and habit ("x" ̅ = 3.31). There were five factors affecting farmers' use of digital technology for agricultural production with statistical significance: age (negative relationship; p<0.01), education, contact with government agricultural extension officials, membership in agricultural organizations, and types of Internet access (positive relationship; p<0.01). Four behavioral variables were related significantly to farmers' intentions to use digital technology for agricultural production: performance expectation, facilitating conditions, and social influence (positive correlation; p<0.001) and habit (negative correlation; p<0.01). Policy recommendations are provided to encourage farmers to apply digital technology for agricultural production. Relevant government agencies should have policies to direct their units to create more contact channels for farmers; create educational materials and disseminate them online via social media platforms such as Facebook, LINE, and YouTube, and provide technical support online; and broadcast contents that meet the farmers' needs for practical applications for their agricultural production. They should provide a sufficient budget for required tools and equipment so farmers can access them. Improvement of the Internet network and services and research and development of digital technology for agricultural production suitable for farmers should also be supported.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectUTILIZATIONen_US
dc.subjectDIGITAL TECHNOLOGYen_US
dc.subjectAGRICULTURAL PRODUCTIONen_US
dc.subjectCHIANG MAI PROVINCEen_US
dc.subjectFARMERSen_US
dc.titleFarmers’ utilization of digital technology for agricultural production in Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการผลิตทางการเกษตรของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshFarm produce-
thailis.controlvocab.lcshTechnology-
thailis.controlvocab.lcshFarmers -- Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshOnline social networks-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้ใช้แนวทางการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการผลิตทางการเกษตรของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการผลิตทางการเกษตร และ3) เพื่อให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการส่งเสริมเกษตรกรเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการผลิตทางการเกษตร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured interview) กับเกษตรกรอายุระหว่าง 18-45 ปี จำนวน 369 ครัวเรือน 7 ตำบล ในพื้นที่อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด เพื่ออธิบายข้อมูล และวิเคราะห์เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ Multiple regression analysis แบบ Enter จากการศึกษาพบว่า มากกว่าครึ่งของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นผู้หญิง (51.76%) มีอายุเฉลี่ย 37 ปี มากที่สุดคือกลุ่มอายุระหว่าง 31 - 40 ปี (41.73%) ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา (43.63%) มีประสบการณ์การทำเกษตรกรรมเฉลี่ย 15 ปี พื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 16.81 ไร่ โดยปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นพืชหลัก รายได้เฉลี่ยของครัวเรือน 106,857 บาทต่อปี เป็นรายได้จากภาคเกษตรเฉลี่ย 93,195 บาทต่อปี เกษตรกรส่วนใหญ่เข้าร่วมในองค์กรการเกษตร (63.59%) เกษตรกรเกือบทั้งหมดได้รับข้อมูลการเกษตรจากสื่อสังคมออนไลน์ เช่น Facebook, LINE และ YouTube (ร้อยละ 96.20) เกษตรกรทุกคนมีการใช้งานอินเทอร์เน็ตและใช้บนอุปกรณ์ของตนเอง (99.19%) เกษตรกรทุกคนใช้สมาร์ทโฟน โดยมีประสบการณ์ใช้งานเฉลี่ยประมาณ 5 ปี มีเกษตรกรเพียงไม่กี่คนใช้อุปกรณ์อื่น ได้แก่ ใช้คอมพิวเตอร์ 10 คน ใช้คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คและแท็บเล็ตอย่างละ 1 คน และเรียนรู้การใช้งานด้วยตนเอง เวลาที่นิยมใช้งานคือระหว่าง 18:01 - 21:00 น. และ 09:01 - 12:00 น. จุดประสงค์หลักของการใช้เทคโนโลยีคือการสื่อสารระหว่างเพื่อนเกษตรกรผ่าน LINE และ Facebook (มากกว่า 89.00%) นอกจากนี้ยังใช้เพื่อค้นหาและเข้าถึงข้อมูลการเกษตรผ่าน YouTube และเข้าถึงพยากรณ์อากาศ (มากกว่า 86.00%) นอกจากนี้ เกษตรกร (67.21%) ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อวัตถุประสงค์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมที่สะท้อนถึงความตั้งใจของเกษตรกรในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการผลิตทางการเกษตรโดยทั่วไปอยู่ในระดับสูง ((x ) ̅= 3.43) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ความสามารถในการใช้งาน (x ̅ = 3.68) ความสะดวกในการใช้งาน (x ̅ = 3.62) ความคาดหวังในประสิทธิภาพ (x ̅ = 3.59) ราคาต่อการนำไปใช้งาน (x ̅ = 3.54) แรงจูงใจในการใช้งาน (x ̅ = 3.52) และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ได้แก่ อิทธิพลทางสังคม (x ̅=2.72) และ นิสัย (x ̅=3.31) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการผลิตทางการเกษตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5 ปัจจัย ได้แก่ อายุ (ความสัมพันธ์เชิงลบ p<0.01) ระดับการศึกษา การติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรของรัฐ การเป็นสมาชิกในองค์กรการเกษตร และประเภทการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต (ความสัมพันธ์เชิงบวก p<0.01) และตัวแปรเชิงพฤติกรรม 4 ตัวแปร มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับความตั้งใจของเกษตรกรในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการผลิตทางการเกษตร ได้แก่ ความคาดหวังในประสิทธิภาพ ความสะดวกในการใช้งาน และอิทธิพลทางสังคม (สัมพันธ์เชิงบวก p<0.001) และนิสัย (สัมพันธ์เชิงลบ p<0.01) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการส่งเสริมให้เกษตรกรนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการผลิตทางการเกษตร โดยส่วนราชการที่เกี่ยวข้องควรมีนโยบายสั่งการให้หน่วยงานของตนสร้างช่องทางติดต่อกับเกษตรกรมากขึ้น สร้างสื่อการเรียนรู้ และเผยแพร่ทางออนไลน์ผ่านแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย เช่น Facebook, LINE และ YouTube ให้การสนับสนุนทางเทคนิคออนไลน์ และถ่ายทอดเนื้อหาที่ตรงกับความต้องการของเกษตรกร เพื่อนำไปใช้ในการผลิตทางการเกษตรและควรจัดงบประมาณให้เพียงพอสำหรับเครื่องมือ อุปกรณ์ที่จำเป็นให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงได้ ควรสนับสนุนการปรับปรุงเครือข่ายอินเทอร์เน็ต บริการการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการผลิตทางการเกษตรที่เหมาะสมกับเกษตรกรen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620851008-TAVEECHAI KHAMTAVEE.pdf2.32 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.