Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริรัตน์ ปานอุทัย-
dc.contributor.advisorเดชา ทำดี-
dc.contributor.authorซอมพอ อุปขาวen_US
dc.date.accessioned2023-07-07T09:44:23Z-
dc.date.available2023-07-07T09:44:23Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78365-
dc.description.abstractOlder persons with dependency who have good food literacy will be able to manage their consumption behavior. This correlational descriptive research aimed to determine the relationship between the food literacy and food consumption behavior of dependent elders. The sample comprised 88 dependent elders residing in Mae Wang district of Chiang Mai province. The period of data collection was between July to September 2021. The tools for data collection were a personal data and illness information questionnaire, a food literacy questionnaire which has a cronbach coefficient of 0.82 and the quality of the tool for content conformity from 6 experts, the content conformity index was 0.97, and a dietary behavior questionnaire which got a CVI of 0.97 and checked for stability (stability reliability) got a Pearson correlation coefficient of 0.83. The statistics for data analysis were descriptive statistics and Pearson’s product moment correlation. The study show that the food literacy and the consumption behavior were at moderate level. The relationship between the food literacy and the consumption behavior were statistically and significantly at a moderate level of p < 0.001. The result of this study can be used as the basic data for health personnel to promote consumption behavior of aid the promotion of good dietary behavior in dependent elderly.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรอบรู้ด้านอาหารและพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงen_US
dc.title.alternativeFood literacy and consumption behavior among dependent eldersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- แง่โภชนาการ-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- สุขภาพ-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashอาหาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิงที่มีความรอบรู้ด้านอาหารที่ดีจะสามารถจัดการกับพฤติกรรมการบริโภคได้ การศึกษาเชิงพรรณนาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านอาหารและพฤติกรรมการบริโภคในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 88 ราย เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน 2564 เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลการเจ็บป่วย แบบสัมภาษณ์ความรอบรู้ด้านอาหาร ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์ครอนบาคเท่ากับ 0.82 และทดสอบคุณภาพเครื่องมือด้านความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 6 ท่าน ได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ 0.97 และแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเชื่อมั่นแล้ว ซึ่งได้ค่า CVI เท่ากับ 0.97 และตรวจสอบความเชื่อมั่นแบบคงที่ (stability reliability) ได้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson correlation coefficient) เท่ากับ 0.83 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือสถิติเชิงพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่าความรอบรู้ด้านอาหารและพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงอยู่ในระดับปานกลาง ความรอบรู้ด้านอาหารมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .0.32, p < .001) ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคลากรด้านสุขภาพในการใช้วางแผนการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231085 ซอมพอ อุปขาว watermark.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.