Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78324
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย จอมดวง-
dc.contributor.authorชนิกานต์ ไชยเทพen_US
dc.date.accessioned2023-07-05T01:18:49Z-
dc.date.available2023-07-05T01:18:49Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78324-
dc.description.abstractThis research aimed to find out the optimal production process for high resveratrol mulberry powder. It was found that Chiang Mai variety ripe mulberry fruits had higher bioactive compounds i.e. resveratrol, anthocyanins and antioxidant activities than Burirum 60 variety. The suitable raw materials for the process were mixed ripening stage of fresh ripe mulberry fruits, which were inseason harvested. Result from two extraction methods studied indicate that yeast fermentation method was more suitable than solvent extraction method (95% ethanol and ethyl acetate at 1:1 v/v), due to its simplicity without solvent application. After pressing and filtering the fermented mulberry solution it was subjected for analysis, it was found that the solution contained low sugar and high resveratrol recovery value at 331.97±0.25% as compared to fresh mulberry fruit. The solution was less sweet and strong sourness. Deacidification method by adding the solution with potassium carbonate or calcium carbonate was not necessary, because it caused reduction in both resveratrol and anthocyanins content. After water and ethanol evaporation by vacuum evaporator at 70°C until five times increasing in concentration, the concentrate fermented mulberry solution was provided. Silicon dioxide was used as anticaking agent added in to solution at 20% of total solid content of concentrate solution. The solution was vacuum dried (70°C) then crushed into powder. It was found that the production yield was 3.04% and the powder had 29.91 mg/kg (dry basis) of resveratrol which was increased about three times of fresh mulberry fruits. It was also found that resveratrol recovery was raised up to 372.86% from that of fresh mulberry fruits. After three months storage of the powder containing high resveratrol content derived from mulberry fruits in vacuum aluminum foil bags, it was found that storage at low temperature (4°C) could maintain resveratrol and anthocyanins content, antioxidant activities better than the higher temperature storage (25 and 35 °C). After three months of storage at 4 °C, it was found that resveratrol remained at 96.10% and anthocyanins decreased to 56.94% of the content in the powder before storageen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนากระบวนการผลิตผงผลหม่อนที่มีเรสเวอราทรอลสูงen_US
dc.title.alternativeProduction process development of high Resveratrol mulberry powderen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashหม่อน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเรสเวอราทรอล-
thailis.controlvocab.thashแอนโทไซยานิน-
thailis.controlvocab.thashสารต้านอนุมูลอิสระ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการที่เหมาะสมในการผลิตผงผลหม่อนที่มีเรสเวอราทรอลสูง จาการศึกษาพบว่า ผลหม่อนสุกพันธุ์เชียงใหม่ มีความเหมาะสมในการใช้เป็นวัตถุดิบ เนื่องจากมีปริมาณสารออกฤทธิ์ชีวภาพที่สำคัญสูง ได้แก่ เรสเวอราทรอล และแอนโทไซยานิน รวมทั้งความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระสูงกว่าพันธุ์บุรีรัมย์ 60 ผลหม่อนที่มีความเหมาะสมเป็นผลหม่อนสุกสดที่เก็บเกี่ยวในฤดูกาล แบบคละระยะความสุก เมื่อนำผลหม่อนดังกล่าวไปศึกษาการสกัดเรสเวอราทรอล 2 วิธี พบว่า วิธีการหมักผลหม่อนบดด้วยยีสต์ เป็นวิธีที่เหมาะสมกว่าการสกัดกากผลหม่อนด้วยตัวทำละลายผสม (เอทานอล ร้อยละ 95 ผสมเอทิลอะซิเตท อัตราส่วน 1 ต่อ 1 โดยปริมาตร) เนื่องจากวิธีการนี้เป็นขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยาก ไม่มีการใช้ตัวทำละลาย หลังบีบคั้นและกรองแยกกากออก ได้สารละลายน้ำหม่อนหมักน้ำตาลต่ำ มีค่าการได้คืนมาของเรสเวอราทรอลสูงขึ้นเป็นร้อยละ 331.97±0.25 จากผลหม่อนสด สารละลายที่ได้มีรสหวานน้อยและเปรี้ยวจัด การลดความเปรี้ยว ด้วยการเติมโพแทสเซียมคาร์บอเนต หรือแคลเซียมคาร์บอเนต มีผลทำให้เรสเวอราทรอล และแอนโทไซยานินลดลง เมื่อนำสารละลายน้ำหม่อนหมัก ไประเหยน้ำและเอทานอลออก ด้วยการระเหยแบบสุญญากาศ (70 องศาเซลเซียส) จนมีความเข้มขันเพิ่มขึ้นประมาณ 5 เท่า ได้เป็นสารละลายน้ำหม่อนหมักเข้มข้น จากนั้นเติมสารป้องกันการเกาะรวมตัว คือ ซิลิกอนไดออกไซด์ ร้อยละ 20 ของปริมาณของแข็งในสารละลายเข้มข้นนั้น แล้วนำไปอบแห้งด้วยตู้อบแบบสุญญากาศ (70 องศาเซลเซียส) บดเป็นผง ได้ผลผลิตผงร้อยละ 3.04 มีเรสเวอราทรอล 29.91 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (น้ำหนักฐานแห้ง) ซึ่งเพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่าจากผลหม่อนสด คิดเป็นค่าการได้คืนมาของเรสเวอราทรอลสูงถึงร้อยละ 372.86 จากผลหม่อนสด หลังเก็บรักษาผงผลหม่อนที่มีเรสเวอราทรอลสูง ในถุงอลูมิเนียมฟอยด์ปิดผนึกสุญญากาศ นาน 3 เดือน พบว่า การเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ (4 องศาเซลเซียส) ยังคงมีเรสเวอราทรอล และแอนโทไซยานิน รวมทั้งความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ อยู่สูงกว่าการเก็บรักษาที่อุณหภูมิสูงกว่า (25 และ 35 องศาเซลเซียส) โดยที่มีเรสเวอราทรอลคงเหลืออยู่ ร้อยละ 96.10 และแอนโทไซยานินคงเหลืออยู่ร้อยละ 56.94 ของผงเริ่มต้นen_US
Appears in Collections:AGRO: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601331007 ชนิกานต์ ไชยเทพ.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.