Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78307
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชานนท์ ชิงชยานุรักษ์-
dc.contributor.authorจิตรสิริ อินต๊ะวงศ์en_US
dc.date.accessioned2023-07-04T09:40:32Z-
dc.date.available2023-07-04T09:40:32Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78307-
dc.description.abstractThe purpose of this study is to test and compare the performance of explaining asset returns between a four-factor model and a modified seven-factor model in the Stock Exchange of Thailand. The study creates a testing portfolio from the monthly returns of listed companies in SET, from March 2016 to March 2021, using value-weight to calculate monthly return. The comparison method is regression analysis, and the constant alpha is tested to determine if it is significantly zero by using the Gibbons, Ross, and Shanken Test (GRS Test). The test results show that the most effective factor in explaining the return of the testing portfolio is the excess market return factor (Rm-Rf), which can significantly explain the return of the testing portfolio with a 99% confidence level. Moreover, the regression analysis indicates that the Seven-Factor Model's R2 and Adjusted R2 are higher than those of the Three-Factor Model and the Four-Factor Model. Additionally, in terms of creating a non-zero constant return, neither the Four-Factor Model nor the Seven-Factor Model significantly creates a non-zero constant return, except for the Three-Factor Model, which creates a non-zero constant return with 99% confidence.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการอธิบายผลตอบแทนของหลักทรัพย์ระหว่างแบบจำลองสี่ปัจจัยและแบบจำลองเจ็ดปัจจัยดัดแปลงในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeComparing the performance in explaining asset return between four-factor model and modified seven-factor model in The Stock Exchange of Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย-
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์-
thailis.controlvocab.thashหลักทรัพย์ -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashหลักทรัพย์ -- อัตราผลตอบแทน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบและเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างแบบจำลองสี่ปัจจัยและแบบจำลองเจ็ดปัจจัยดัดแปลงในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยสร้างกลุ่มหลักทรัพย์ที่ใช้ทดสอบจากผลตอบแทนรายเดือนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ.2558 ถึงเดือน มีนาคม พ.ศ.2564 โดยวิธีการถ่วงน้ำหนักตามมูลค่าตลาดของหลักทรัพย์ การศึกษานี้ใช้วิธีการการวิเคราะห์การถดถอย และการทดสอบของ Gibbon Ross และ Shanken (GRS Test) เพื่อคำนวณค่าสัมประสิทธิ์ และทดสอบค่าความมีนัยสำคัญทางสถิติของปัจจัยที่ใช้ในการทดสอบและค่าคงที่ (α) จากผลการศึกษาพบว่าตัวแปรที่มีประสิทธิภาพในการอธิบายผลตอบแทนที่สุดในแบบจำลองที่ใช้ทดสอบ คือ ปัจจัยผลตอบแทนส่วนเกินของตลาด (Rm-Rf) ซึ่งสามารถอธิบายผลตอบแทนของกลุ่มหลักทรัพย์ที่ใช้ทดสอบได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 99% นอกจากนั้นจากการวิเคราะห์สมการถดถอยยังพบว่า แบบจำลองเจ็ดปัจจัยดัดแปลงมีค่า R2 และ Adjusted R2 ที่สูงกว่าแบบจำลองสามปัจจัย และแบบจำลองสี่ปัจจัย นอกจากนั้นในด้านของการสร้างผลตอบแทนส่วนเกินที่ต่างจากศูนย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แบบจำลองสี่ปัจจัย และแบบจำลองเจ็ดปัจจัยดัดแปลง ไม่สามารถสร้างผลตอบแทนส่วนเกินดังกล่าวได้ ซึ่งแตกต่างจากแบบจำลองสามปัจจัยที่เกิดผลตอบแทนส่วนเกินที่ต่างจากศูนย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการอธิบายผลตอบแทนของหลักทรัพย์ของแบบจำลองสี่ปัจจัยและแบบจำลองเจ็ดปัจจัยดัดแปลงที่เหนือกว่าแบบจำลองสามปัจจัยในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
IS - Jitsiri Intawong 631532155.pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.