Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78221
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวสวัชร นาคเขียว-
dc.contributor.authorศุภาพิช กาเมืองวงษ์en_US
dc.date.accessioned2023-06-29T09:37:50Z-
dc.date.available2023-06-29T09:37:50Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78221-
dc.description.abstractThe prime objective of this independent research is to study the Product defect reduction and improvement of overall equipment effectiveness in plastic bottle manufacturing process. By focusing on the production of 600 cc round PET plastic bottles, starting from a detailed study of product information on the production process. There are 2 types of machines used in the production process which are in follows: Automatic bottle blowing machine which has an overall equipment effectiveness (OEE) of 55.82%, Labeling machine which has an overall equipment effectiveness (OEE) of 42.34%. The low overall machinery efficiency of both concerned machines are caused by too long period of time in order to set up the machine, small stoppage due to lot change, malfunction issues during production and improper work order management from the occurrence of various wastages that cause the overall equipment effectiveness (OEE) to be low incurred expenses from wasted time which caused the loss of expenses in the field of electricity cost for 4,143.6 baht and labor cost for 8,466 baht within 3 months (December 2020 -February 2021). Yet the production of defective workpieces, both clamp neck and loose labels (January 2020 -February 2021) accountable to 23,169.4 baht, thus improving by rehabilitating machinery has been taking placed such as the preventive maintenance, maintenance plan revision and improvement and self-maintenance method. By using quality tools of inspection sheet and fish bone diagrams in order to help in troubleshooting. As a result of the troubleshooting, it turning out that the automatic bottle blowing machine’s overall equipment effectiveness (OEE) had increased from 55.82% to be 88.16% and labeling machine’s overall equipment effectiveness (OEE) had increased from 42.34%. to be 65.06% For detailed information on defects that occur in the blow molding process with the automatic bottle blowing machine, it was found that there were 1.37% of the defective parts of in type of NG shape (January 2020 - February 2021) and the quantity was more than the company standard which is 0.5%, resulting in the loss of expenses from defective parts around 23,169.4 baht. Therefore, to find the cause of the problem from quality tools such as Fish bone diagram and find a solution by using 2k factorial experimental design technique and Response surface technic by Box-Behnken Design method in order to determine the optimum conditions for the adjustment of parameters used in the blow molding process. The troubleshooting by adjusting the machine condition according to the best specifications of each factor analyzed as a result, the quantity of shaping defects has been solved than the target set by the factory of 0.5%. During the same period in July, from 1.49% reduced to 0.24%. In August, from 3.51% reduced to 0.29% and in September from 2.80% reduced to 0.28%. In addition, the incurred hidden costs were reduced in the 3 months following the improvement (July 2021 -September 2021) as a result of various improvements, including costs incurred from the Automatic bottle blowing machine’s electricity bill from the original minimum total cost of 3,348.30 baht, had reduced to not less than 1,607.76 baht, labor cost had reduced from 5,487 baht, reduced to 1,473.60 baht. Defective workpieces that occurred from 23,169.40 baht, reduced to 684.50 baht. The cost incurred from the Labeling machine’s electricity bill from the original minimum total cost of 795.30 baht, had reduced to not less than 75.75 baht, labor cost from 5,958.00 baht, reduced to 552.00 baht, defective workpieces that occurred from 5.10 baht, reduced to 0.90 baht which is in accordance to the objectives set by the researcher.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดข้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์และการปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรในกระบวนการผลิตขวดพลาสติกen_US
dc.title.alternativeProduct defect reduction and improvement of overall equipment effectiveness in plastic bottle manufacturing processen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพลาสติก -- การขึ้นรูป-
thailis.controlvocab.thashขวดพลาสติก -- การผลิต-
thailis.controlvocab.thashอุตสาหกรรมขวดพลาสติก-
thailis.controlvocab.thashเครื่องจักร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการลดข้อบกพร่องของผลิตภัณฑ์และการปรับปรุง ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรในกระบวนการผลิตขวดพลาสติก โดยมุ่งเน้นในสายการผลิตขวด พลาสติก พีอีที ชนิดกลม ขนาค 600 ซีซี เริ่มจากการศึกษารายละเอียดข้อมูลผลิตภัณฑ์กระบวนการผลิต ขวดพลาสติกชนิดกลม ขนาด 600 ซีซี. เครื่องจักรที่ใช้ในกระบวนการ ผลิตมีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ เครื่องเป่า ขวดพลาสติกอัตโนมัติ จำนวน 1 เครื่อง มีค่าประสิทธิผล โดยรวมของเครื่องจักร (OEE) 55.82% และ เครื่องอบฉลาก จำนวน 1 เครื่อง มีค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE) 42.34% สาเหตุเกิดจาก เวลาในการปรับตั้งเครื่องจักรนานเกินไป เกิดการหยุดเล็กๆน้อยๆเนื่องจากเปลี่ยนล็อต เกิดการบกพร่อง ของเครื่องในระหว่างผลิต รวมทั้งการจัดการงานที่ไม่เหมาะสม จากการเกิดเวลาสูญเสียต่างๆที่ทำให้ ประสิทธิผล โดยรวมของเครื่องจักรต่ำ เกิดค่าใช้จ่ายจากเวลาที่สูญเปล่า ซึ่งทำให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย ในด้านของไฟฟ้า 4,143.6 บาท ด้านแรงงาน 8,466 บาท ภายในระยะเวลา 3 เดือน (ธันวาคม 2563 - กุมภาพันธ์ 2561) และจากการผลิตชิ้นงานบกพร่องทั้งคอหนีบและฉลากหลวม ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 - เดือนกุมภาพันธ์ 2564 คิดเป็น 23,169.4 บาท จึงปรับปรุงโดยการฟื้นฟูสภาพเครื่องจักร ทำแผนซ่อม บำรุง เช่น การบำรุงรักษาชิงป้องกัน การปรับปรุงแก้ไข และการบำรุงรักษาด้วยตนเอง จากการนำ เครื่องมือคุณภาพได้แก่ใบตรวจสอบผังก้างปลา (fish bone diagram) มาช่วยในการแก้ไขปัญหา จากการแก้ไขปัญหา พบว่า ทำให้ค่าประสิทธิผล โดยรวมของเครื่องจักร (OEE) ของเครื่องเป่าขวด อัตโนมัติ จากเดิม 55.82% เพิ่มขึ้นเป็น 88.16% และทำให้ค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร (OEE) ของเครื่องอบฉลาก จากเดิม 42.34%เพิ่มขึ้นเป็น 65.06% สำหรับรายละเอียดข้อมูลของข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในกระบวนการเป่าขวด ด้วยเครื่องเป่าขวด อัตโนมัติ พบว่า มีชิ้นงานบกพร่องประเภทคอหนีบสูงถึง 1.37% ( มกราคม 2563 - กุมภาพันธ์ 2564) และ มีปริมาณมากกว่าเกณฑ์ที่บริษัทกำหนดคือ 0.5* เป็นผลทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายจากการเกิดขึ้นงาน บกพร่อง 23,169.4 บาท จึงหาสาเหตุของปัญหาจากเครื่องมือคุณภาพ ได้แก่ ผังก้างปลา (Fish bone diagram) และหาแนวทางแก้ไข โดยใช้เทคนิคการออกแบบการทดลองเชิงแฟคทอเรียล 2 k และวิธีพื้นผิว ตอบสนองโดยใช้วิธีการ Box-Behnken Design (บ็อกซ์-เบห์นเคน) ในการหาสภาวะเหมาะสมในการ ปรับตั้งพารามิเตอร์ที่ใช้ในกระบวนการเป่าขวดพลาสติก เพื่อลดของเสียประเภทคอหนีบ จากการแก้ไขปัญหาโคยการปรับตั้งเครื่องจักรตามข้อกำหนดที่ดีที่สุดของแต่ละปัจจัยที่ วิเคราะห์ออกมาได้ ทำให้ปริมาณชิ้นงานบกพร่องประเภทคอหนีบลดลงมากกว่าเป้าหมายที่โรงงาน กำหนดไว้คือ 0.5% ในช่วงเวลาเดียวกันในเดือนกรกฎาคม จากเดิมร้อยละ 1.49 ลดลงเหลือ ร้อยละ 0.24 เดือนสิงหาคม จากเดิมร้อยละ 3.51 ลดลงเหลือร้อยละ 0.29 และ ในเดือนกันยายน จากเดิมร้อยละ 2.80 ลดลงเหลือ ร้อยละ 0.28 บอกจากนี้ ยังทำให้ค่าใช้จ่ายแอบแฝงที่เกิดขึ้นนั้นลดลง ในระยะเวลา 3 เดือน หลังการปรับปรุง (กรกฎาคม 64 - กันขายน 64) ซึ่งเป็นผลมาจากการปรับปรุงต่างๆ อันได้แก่ ค่าใช้จ่าย ที่เกิดขึ้นจากค่าไฟฟ้าของเครื่องเป่าขวดพลาสติกอัตโนมัติ จากเดิมเกิดความสูญเสียทั้งสิ้น ไม่น้อยกว่า 3,348.30 บาท ลดลงเหลือไม่น้อยกว่า 1,607.76 บาท ค่าแรงงานจากเดิม 5,487 บาท ลดลงเหลือ 1,473.60 บาท ชิ้นงานบกพร่องที่เกิดขึ้น จากเดิม 23,169.40 บาท ลดลงเหลือ 684.50 บาท ค่าใช้จ่ายที่ เกิดขึ้นจากค่าไฟฟ้าของเครื่องอบฉลาก จากเดิมเกิดความสูญเสียทั้งสิ้น ไม่น้อยกว่า 795.30 บาท ลดลง เหลือไม่น้อยกว่า 75.75 บาท ค่าแรงงานจากเดิม 5,958.00 บาท ลดลงเหลือ 552.00 บาท ชิ้นงานบกพร่องที่ เกิดขึ้น จากเดิม 5.10 บาท ลดลงเหลือ 0.90 บาท ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ผู้วิจัยได้กำหนดไว้en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632048 ศุภาพิช กาเมืองวงษ์.pdf9.77 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.