Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78179
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฉัตร์ฑพงศ์ แก้วสมพงษ์-
dc.contributor.advisorภารวี มณีจักร-
dc.contributor.authorทาริกา นามวงศ์en_US
dc.date.accessioned2023-06-26T10:52:55Z-
dc.date.available2023-06-26T10:52:55Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78179-
dc.description.abstractThe topic of study is comparison cost and returns of pineapple planting with and without certification of Good Agricultural Practice (GAP). The objectives are (1) to compare the cost and returns and (2) to study problems and obstacles in growing pineapples certified by the GAP standard. The scope of study is in Mueang Lampang District, Lampang Province. The data is collected by Depth Interview. The target audiences of the first objective are four farmers: two with GAP and two without GAP, while 23 farmers with GAP (counting 20% of all farmers with GAP in Lampang Province) are for the second objective. The study shows that (1) the cost of pineapple planting certified by GAP is higher than without GAP certification (2) planting pineapple certified by GAP generate higher returns than non-certified due to the lower break-even point and average price, and faster payback period. Thus, the investment is worthwhile and profitable, and have better returns (3) the sources of water used in planting process certified by GAP is the main problem.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตสับปะรดที่ได้และไม่ได้รับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีในอําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปางen_US
dc.title.alternativeComparison of costs and returns in the production of pineapples under certified and non-certified good agricultural practices in Mueang District, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสับปะรด -- ต้นทุนการผลิต-
thailis.controlvocab.thashสับปะรด -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashอัตราผลตอบแทน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในหัวข้อรื่อง การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตสับปะรดที่ได้ และไม่ได้รับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ (1) เปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนของการผลิตสับปะรดที่ได้และไม่ได้รับรองมาตรฐานการ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ในอำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง และ (2) ศึกษาปัญหา และ อุปสรรดในการปลูกสับปะรดที่ได้รับรองมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ข้อมูลที่ใช้ใน การศึกษาได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก (Depth Interview) จำนวน 4 ราย โดยแยกเป็นเกษตรกรผู้ปลูก สับปะรดที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP จำนวน 2 ราย และเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดที่ไม่ได้รับรอง มาตรฐาน GAP จำนวน 2 ราย และจำนวน 23 ราย หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ของเกษตรกรที่ได้รับรอง มาตรฐาน GAP ในพื้นที่อำภอเมืองลำปาง โดยการสัมกาษณ์กี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคในการปลูกสับปะรดที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP ผลการศึกษาพบว่า (1) ต้นทุนการผลิตสับปะรดของเกษตรกรที่ได้รับรองมาตรฐานการ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) สูงกว่าเกษตรกรที่ไม่ได้รับรองมาตรฐาน GAP (2) ผลตอบแทนใน การผลิตสับปะรดที่ได้รับมาตรฐาน GAP สูงกว่าการผลิตสับปะรดที่ไม่ได้รับ GAP เพราะจุดคุ้มทุนใน ระดับผลผลิตเฉลี่ย และระดับราคาเฉลี่ยมีค่าต่ำกว่า มีระยะเวลาคืนทุนเร็วกว่า ทำให้การลงทุนมีความ คุ้มค่าได้กำไรและผลตอบแทนที่ดีกว่า (3) ปัญหาและอุปสรรคของการผลิตสับปะรดที่ได้รับ มาตรฐาน GAP คือ แหล่งน้ำ เพื่อใช้ในการดูแลต้นสับปะรดให้ได้คุณภาพและมีผลผลิตตลอดทั้งปีen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601632014 ทาริกา นามวงศ์.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.