Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคธาวุธ เตชะสุทธิรัฐ-
dc.contributor.authorวาทิศ เดชพงษ์en_US
dc.date.accessioned2023-06-26T10:14:36Z-
dc.date.available2023-06-26T10:14:36Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78176-
dc.description.abstractIntroduction: Enhanced recovery after surgery (ERAS) is currently adopted in surgery, preoperative carbohydrate loading can improve metabolic and inflammatory response. This study aimed to investigate the effects of preoperative carbohydrate loading on interleukin-6 (IL-6) and insulin resistance (HOMA-IR index) in orthognathic surgery. Patients and methods: This study was a randomized clinical trial. Twenty patients were evenly randomized to either recieve 400 mL of an oral carbohydrate drinking (CHO group) or 400 mL drinking water (placebo group) 3 hours before surgery. IL-6 levels and insulin resistance were analysed at baseline ( TO) and 24 hours after surgery (T1) by Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA). Postoperative outcomes and quality of postoperative recovery were also documented. Results: IL-6 levels and insulin resistance did not differ significantly between CHO and placebo groups (CHO group: 6.89 pg/mL of IL-6 levels and 5.5 of HOMA-IR, placebo group: 6.64 pg/mL of IL-6 levels and 4 of HOMA-IR). In addition, CHO group showed significantly lesser length of time in recovery room, compared to placebo group (CHO group: 48 + 15.49 mins and placebo group: 63 + 9.48 mins, P <0.05). No significant differences of length of time in hospital stay and quality of recovery were observed. Conclusion: Preoperative carbohydrate loading (glucose 50 g of 400 mL) in orthognathic surgery was safe and decrease length of time in recovery room. However, preoperative carbokydrate loading in orthognathic surgery did not improve metabolic and inflammatory response including postoperative recovery.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการให้คาร์โบไฮเดรตก่อนการผ่าตัดต่อการตอบสนองทางเมตาบอลิซึมและการอักเสบภายหลังการศัลยกรรมจัดกระดูกขากรรไกร: การศึกษาแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมen_US
dc.title.alternativeThe Effect of preoperative carbohydrate loading on metabolic and inflammatory response after orthognathic surgery: randomized controlled trialen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashขากรรไกร -- ศัลยกรรม-
thailis.controlvocab.thashการดูแลหลังศัลยกรรม-
thailis.controlvocab.thashการดูแลก่อนศัลยกรรม-
thailis.controlvocab.thashอินซูลิน--สารต้าน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความเป็นมาและความสำคัญ: ในปัจจุบันโปรแกรมการฟื้นตัวหลังการผ่าตัดถูกมานำประยุกต์ในการ ผ่าตัดหลายชนิด การให้คาร์โบไฮเดรตก่อนการผ่าตัดสามารถช่วยลดการอักเสบ และลดภาวะต้านทาน ฮอร์โมนอินซูลินหลังการผ่าตัดได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้คาร์โบไฮเครต ก่อนการผ่าตัดต่อปริมาณอินเตอร์ลิวคิน-6 ในกระแสเลือด และภาวะต้านทานฮอร์โมนอินซูลิน ภายหลังการศัลยกรรมจัดกระดูกขากรรไกร วิธีวิจัย: การศึกษานี้เป็นการศึกษาทดลองคลินิกแบบสุ่ม ผู้ป่วยศัลยกรรมจัดกระดูกขากรรไกรจำนวน 20 คน ถูกสุ่มอย่างเท่ากันเข้าสู่กลุ่มทดลองที่ได้รับการดื่มคาร์โบไฮเครดความเข้มข้นร้อยละ 12 ปริมาณ 400 มิลลิลิตรก่อนการผ่าตัด 3 ชั่วโมง และกลุ่มยาหลอกซึ่งดื่มน้ำเปล่า ปริมาณอินเตอร์ลิวน- 6 และภาวะต้านทานต่อฮอร์ โมนอินซูลินจะถูกวัดก่อนการผ่าตัด และหลังการผ่าตัด 24 ชั่วโมงโดยวิธี เอ็นซัยม์-ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนท์แอสเซย์ อีกทั้งผลลัพธ์การผ่าตัดและคุณภาพการฟื้นตัวหลังการผ่าตัด ก็ถูกบันทึกไว้ ผลการวิจัย: ค่าอินเตอร์ลิวดิน-6 และภาวะต้านทาน ฮอร์โมนอินซูลินหลังผ่าตัดไม่พบความแตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มยาหลอก โดยพบค่าอินเตอร์ลิวคิน -6 ในกลุ่มทดลอง เท่ากับ 6.89 พิโคกรัม มิลลิลิตร และกลุ่มยาหลอกเท่ากับ 6.64 พิโคกรัม/มิลลิลิตร และภาวะต้านทาน ฮอร์โมนอินซูลินในกลุ่มทดลองเท่ากับ 5.5 และกลุ่มยาหลอกเท่ากับ 4 นอกจากนั้นเมื่อประเมินจากแบบสอบถามคุณภาพการฟื้นตัวหลังผ่าตัด-35 และระยะเวลาในการพักฟื้น พบว่าระยะเวลาฟื้นตัวใน ห้องพักฟื้นของผู้ป่วยกลุ่มทคลองการผ่าตัดน้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (กลุ่มทดลอง 48 + 15.49 นาที และกลุ่มยาหลอก 63 +9.48 นาที, P < 0.05) ระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาลของผู้ป่วยที่กลุ่ม ทดลองน้อยกว่า แต่ไม่พบมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญของระยะเวลาในการนอนโรงพยาบาล และคุณภาพการฟื้นหลังการผ่าตัด สรุปผลการวิจัย: การให้คาร์โบไฮเดรตก่อนศัลขกรรมจัดกระดูกขากรร ไกรด้วยน้ำตาลกลูโคส 50 กรัม ผสมน้ำ 400 มิลลิลิตร มีความปลอดภัยในการศัลยกรรมจัดกระดูกขากรรไกร และสามารถช่วยให้ ผู้ป่วยฟื้นตัวได้เร็วขึ้นในช่วงต้นที่พักรักษาตัวในห้องพักฟื้น แต่อย่างไรก็ตามไม่สามารถลดภาวะ ต้านทานฮอร์โมนอินซูลินและการอักเสบ รวมไปถึงการฟื้นตัวหลังการผ่าตัดen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931028 วาทิศ เดชพงษ์.pdf2.07 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.