Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78153
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNapat Jakrawatana-
dc.contributor.advisorPatiroop Pholchan-
dc.contributor.advisorSaoharit Nitayavardhana-
dc.contributor.authorPitak Ngammuangtuengen_US
dc.date.accessioned2023-06-25T05:54:11Z-
dc.date.available2023-06-25T05:54:11Z-
dc.date.issued2022-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78153-
dc.description.abstractBioeconomy is one of the key policies to develop Thailand's new economic growth engine. However, several limitations and challenges, such as weather and climate change, market price, and production cost, can affect the implementation feasibility. In this research, the Water-Energy-Food (WEF) Nexus approach was applied to determine the policies at three different implementation scales, including national, watershed, and local scales, using the Material Flow Analysis (MFA) technique. In assessing the bioeconomy at the national level, allocating the supply from exporting to PLA production has the second-highest eco-efficiency but consumes much less water and energy than others, resulting in better economic value. On the watershed/regional scale, the study was conducted within the scope of the Chaopraya watershed area. The land-use change from rice to sugarcane provided the highest financial gain and supported the bioeconomy policy, even consumed more energy and remained a water stress issue. Therefore, policymakers need to be concerned about water sustainability and adequately convince farmers to follow. Lastly, in assessing the bioeconomy at the local level, the study focusing on the Nakhon Sawan Biocomplex (NBC) area found that the site is susceptible to rainfall changes since the sugarcane cultivation area is mainly rainfed. Thus, developing more irrigation areas is the proper alternative to ensuring the NBC's sugarcane crop yield. The significant rainfall fluctuation has been discovered from the future projections of GCMs. Therefore, developing an additional irrigation water supply of about 400 m3 /crop and expansion to cover more than 90% of the cultivated area is recommended to ensure the minimum supply of sugarcane business for the future.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDevelopment of water-energy-food nexus model for promoting sustainable Thailand bioeconomyen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาแบบจําลองความเชื่อมโยงของทรัพยากรน้ำ พลังงาน และอาหาร เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจฐานชีวภาพของไทยอย่างยั่งยืนen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshBioeconomy-
thailis.controlvocab.lcshWater-
thailis.controlvocab.lcshWater-power-
thailis.controlvocab.lcshEnergy consumption-
thailis.controlvocab.lcshPower resources-
thailis.controlvocab.lcshFood-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเศรษฐกิจชีวภาพเป็นหนึ่งในนโยบายหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่ของประเทศไทย แต่ ด้วยข้อจำกัดและความท้าทายหลายประการทั้งทรัพยากร การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ราคาตลาด และอื่นๆ ส่งผลกระทบต่อการดำเนินการนโยบายนี้ในเชิงปฏิบัติ งานวิจัยนี้จึงได้ใช้แนวคิดความเชื่อมโยง ของน้ำ พลังงานและอาหาร ร่วมกับเทคนิคการวิเคราะห์การไหลของวัสดุ มาทำการศึกษาวิเคราะห์แนว ทางการดำเนินการนโยบายที่แตกต่างกันสามระดับคือ ระดับประเทศ ระดับลุ่มน้ำ และระดับท้องถิ่น ซึ่ง ผลการประเมินแนวทางเศรษฐกิจชีวภาพในระดับชาติพบว่า การจัดสรรผลผลิตทางการเกษตรจากการ ส่งออกไปเป็นการผลิตพลาสติกชีวภาพ ให้ผลลัพธ์ที่สมดุลที่สุดแม้ว่ามีประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ สูงสุดเป็นอันดับสอง แต่มีการใช้น้ำและพลังงานน้อยกว่ากรณีอื่นๆ โดยเฉพาะที่มีการเพิ่มพื้นที่และ ปริมาณการผลิตพืช ส่วนการศึกษาในระดับลุ่มน้ำซึ่งศึกษาภายในขอบเขตพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา พบว่าการ เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจากข้าวเป็นอ้อยทำให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจสูงสุดและสอดคล้องกับ นโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ แต่มีการใช้พลังงานมากขึ้นและยังคงมีข้อจำกัดด้านทรัพยากรน้ำ ผู้กำหนด นโยบายต้องพิจารณาประเด็นเกี่ยวกับความยั่งยืนและจงใจให้เกษตรกรปฏิบัติตามอย่างเหมาะสม และใน การศึกษาแนวทางนโยบายในระดับท้องถิ่นในพื้นที่นครสวรรค์ไบโอคอมเพล็กซ์ พบว่าพื้นที่ปลูกอ้อยนั้น มีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ำฝนเนื่องจากส่วนใหญ่ปลูก โดยใช้น้ำฝนเป็นหลัก ดังนั้นการพัฒนาพื้นที่ชลประทานจึงเป็นทางเลือกที่จำเป็นในการสร้างความมั่นคงของผลผลิตพืชในพื้นที่ นอกจากนี้การคาดการณ์ด้วยแบบจำลองปริมาณน้ำฝนในอนาคต ยังพบว่าพื้นที่มีความผันผวนเป็นอย่าง มาก ดังนั้นการพัฒนาแหล่งน้ำเสริมเพิ่มเติมให้ครอบคลุมพื้นที่กว่าร้อยละ 90 ของพื้นที่เพาะปลูก และให้ น้ำได้ประมาณ 400 ลบ.ม./ปี จะช่วยให้ธุรกิจน้ำตาลในพื้นที่มีความมั่นคงของวัตถุดิบในอนาคตต่อไปได้en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610651005 พิทักษ์ งามเมืองตึง.pdf8.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.