Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ-
dc.contributor.authorอรณิชา แปงทิศen_US
dc.date.accessioned2023-06-17T09:25:40Z-
dc.date.available2023-06-17T09:25:40Z-
dc.date.issued2023-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78069-
dc.description.abstractThis research aimed to understand the psychological experience and feminine identity of female college students toward alcohol use, using qualitative research methods with interpretive phenomenological analysis. The main informants were female students aged between 18-25 years old at a university in Chiang Mai, with typically use alcohol on at least one occasion a week, totaling 8 people. The findings indicated the argument of the study: Suppressed by the discourse on the "Good Women", female students who drink are stigmatized as bad women. However, they do not surrender to the discourse by negotiating between their feminine identity and drinking practices. The argument was supported by 2 themes: 1) discourse on femininity and drinking; 2) femininity and drinking alcohol.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการดื่มสุรากับอัตลักษณ์ความเป็นหญิง : การวิเคราะห์ปรากฏการณ์วิทยาเชิงตีความประสบการณ์การดื่มสุราของนักศึกษาหญิงen_US
dc.title.alternativeAlcohol drinking and feminine identity: An interpretative phenomenological analysis of female college studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์-
thailis.controlvocab.thashการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ -- พฤติกรรม-
thailis.controlvocab.thashสุรา -- แง่สังคม -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashสตรี -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจประสบการณ์ทางจิตใจกับอัตลักษณ์ความเป็นหญิงของนักศึกษาหญิงต่อการดื่มสุรา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยแบบการวิเคราะห์เชิงปรากฏการณ์วิทยาแบบตีความ (Interpretative Phenomenological Analysis: IPA) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ นักศึกษาเพศหญิง ในช่วงอายุ 18-25 ปี มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ที่มีการดื่มสุราอย่างน้อย 1 ครั้งต่อสัปดาห์ จำนวน 8 คน ผลการศึกษานำมาสู่ข้อเสนอหลัก (argument) ว่าภายใต้วาทกรรม “ผู้หญิงที่ดี” นักศึกษาที่ดื่มสุราถูกตัดสินว่าเป็นผู้หญิงที่ไม่ดี อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างไม่ยอมจำนนต่อวาทกรรมดังกล่าวและได้มีกระบวนการต่อรองต่อต้านระหว่างอัตลักษณ์ความเป็นหญิงกับปฏิบัติการการดื่มของพวกเธอ แก่นสาระที่สนับสนุนข้อเสนอหลักประกอบไป 2 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) วาทกรรมความเป็นหญิงกับการดื่ม 2) อัตลักษณ์ความเป็นหญิงและการดื่มสุราen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610132042 - อรณิชา แปงทิศ.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.