Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78040
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมลิน เหล่าศิริถาวร-
dc.contributor.authorจิดาภา พงษ์พานิชen_US
dc.date.accessioned2023-06-14T09:48:41Z-
dc.date.available2023-06-14T09:48:41Z-
dc.date.issued2023-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78040-
dc.description.abstractThis research studied the inventory management system of a precast concrete distribution company that has four types of products which are prefabricated floor slabs, piles, square pipes and manholes. Each product type contains of many sizes which caused problems in warehouse such as product of mixed sizes were placed together, misalignment of products, and the difficulty in identification of each item number as it is difficult to read resulting in unsystematic warehouse management. This research aims to systematically improve warehouse management by using ABC Classification Analysis to classify inventory. In addition, inventory strategy theory and visual control were applied to design code and symbol that help to locate inventory item easier. Improvements that actually implement in the company started with ABC classification of top 4 product types with highest disbursement. Prefabricated floors of 88 types, piles with 120 types, square pipes with 35 types and manholes with 142 types were classified into group A, B and C based on frequency of disbursement. Improvements have been made by assigning codes and labels for visual control to make it easier to locate inventory. As a result, it helps to reduce the product counting time by 1.06 hours which accounted for 12.78 % reduction. In addition, guidelines for future improvements were proposed including the use of product separator and QR codes. Moreover, new inventory placement location was designed using the principles of which has designed. Three types of warehouses designed proposed. The first design allocates inventory group A, B and C with transverse arrangement. The second design allocate inventory group A and B to vertical row and group C to horizontal alignment. The third design relocate inventory based on their appearance. Prefabricated floors and piles of group A, B and C were assigned to vertical row, while square pipes and manholes of group A, B and C were allocated to horizontal row. Questionnaire was designed to evaluate the design with responder being the related personal from the company. The criteria used for evaluation include the ease of product counting, ease of finding products, convenience in placing and picking up products and adequate product storage space. The best layout with highest score was the second design and therefore suggested to be implemented in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการลดเวลาการนับสินค้าคงคลังประจําเดือนด้วยการบริหารสินค้าคงคลังและการวิเคราะห์การจัดกล่มแบบเอบีซen_US
dc.title.alternativeReduction of monthly inventory counting time with inventory management and ABC classification analysisen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการควบคุมสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมการผลิต-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์คอนกรีต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ทำการศึกษาระบบการบริหารสินค้าคงคลังของบริษัทจำหน่ายสินค้าคอนกรีตสำเร็จรูป ซึ่งมีผลิตภัณฑ์ทั้งหมด 4 ประเภท ได้แก่ แผ่นพื้นสำเร็จรูป เสาเข็ม ท่อเหลี่ยม บ่อพัก ผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทมีหลายขนาด ในคลังสินค้าพบปัญหาการวางสินค้าปนขนาด การจัดวางขนาดที่ไม่ตรงตำแหน่ง และการบ่งชี้สินค้าแต่ละหมายเลขยากต่อการอ่าน ส่งผลให้เกิดการจัดการคลังสินค้าที่ไม่เป็นระบบ งานวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการจัดการคลังสินค้าเป็นระบบมากขึ้น โดยใช้การวิเคราะห์การจัดกลุ่มความสำคัญแบบเอบีซีมาใช้จัดกลุ่มสินค้าคงคลัง และการใช้กลยุทธ์การจัดเก็บสินค้ากับการควบคุมด้วยการมองเห็นมาใช้ในการออกแบบรหัสและป้ายสัญลักษณ์ของสินค้าคงคลัง ขั้นตอนการปรับปรุงที่ได้ดำเนินการปรับปรุงจริงๆ เริ่มจากการนำข้อมูลสินค้าคงคลังที่มียอดการเบิกจ่ายสูงสุด 4 ชนิด มาจัดกลุ่มตามหลักการวิเคราะห์การจัดกลุ่มความสำคัญแบบเอบีซี โดยใช้เกณฑ์ความถี่ในการเบิกใช้งาน ซึ่งมีแผ่นพื้นสำเร็จรูปทั้งหมด 88 ชนิด, เสาเข็มมีทั้งหมด 120 ชนิด, ท่อเหลี่ยมมีทั้งหมด 35 ชนิด และบ่อพักมีทั้งหมด 142 ชนิด โดยได้ดำเนินการปรับปรุงโดยการกำหนดรหัสและป้ายสัญลักษณ์เพื่อการควบคุมด้วยการมองเห็นทำให้ง่ายต่อการค้นหาสินค้าคงคลัง ส่งผลให้ช่วยในการลดเวลาการนับสินค้าซึ่งผลการวิจัยพบว่าสามารถลดเวลาได้ 1.06 ชั่วโมงต่อครั้ง คิดเป็นร้อยละ 12.78 นอกจากนี้ได้มีการนำเสนอแนวทางเพื่อการปรับปรุงในอนาคต ได้แก่ การออกแบบสัญลักษณ์การคั่นของสินค้าและการประยุกต์ใช้รหัสของสินค้าแบบเมทริกซ์(QRcode) และได้นำหลักการออกแบบคลังสินค้าและการวางผังคลังสินค้า มาออกแบบพื้นที่จัดวางสินค้าคงคลังให้เหมาะสมกับสินค้าคงคลังแต่ละประเภท ซึ่งทำการออกแบบคลังสินค้ามา 3 แบบ ได้แก่ แบบที่ 1 จัดวางสินค้าของกลุ่มเอ บี และซีทั้ง 4 ผลิตภัณฑ์ เป็นแนวขวาง แบบที่ 2 จัดวางสินค้าของกลุ่มเอกับบีทั้ง 4 ผลิตภัณฑ์เป็นแถวตอนลึก และการจัดวางสินค้าของกลุ่มซีทั้ง 4 ผลิตภัณฑ์เป็นแนวขวาง แบบที่ 3 จัดวางสินค้าโดยให้ขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้า โดย แผ่นพื้นสำเร็จรูปและเสาเข็มของกลุ่มเอ บี และซี จัดวางเป็นแนวขวาง ส่วนท่อเหลี่ยมและบ่อพักของกลุ่มเอ บี และซี จัดวางเป็นแถวตอนลึก แล้วทำการประเมินแบบสอบถามโดยพนักงานของบริษัทกรณีศึกษาใช้เกณฑ์ความง่ายในการตรวจนับสินค้า ความง่ายในการค้นหาสินค้า ความสะดวกสบายในการวางและหยิบสินค้า และความเพียงพอของพื้นที่จัดเก็บสินค้า เพื่อที่จะเลือกผังที่ดีและเหมาะสมที่สุด เพื่อเป็นแนวทางให้บริษัทปรับใช้ในอนาคต ซึ่งแบบที่ 2 ได้ผลลัพธ์การให้คะแนนของผังทางเลือกมากที่สุดen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640632035-Jidapha Pongpanit-IS.pdf21.31 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.