Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77953
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สันต์ สุวัจฉราภินันท์ | - |
dc.contributor.author | จักรกฤษณ์ มั่นชา | en_US |
dc.date.accessioned | 2023-06-07T01:30:47Z | - |
dc.date.available | 2023-06-07T01:30:47Z | - |
dc.date.issued | 2021-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77953 | - |
dc.description.abstract | This research can be regarded as an architectural history and theory research. By adopting “Other Space” - social and spatial theory of Michel Foucault – as a main conceptual framework, this research aims to analysis the relationship between physicality and social dimension of “Curtained Motel”. Methodologically, historical document and related research field were collected and analyzed. The data physical survey of “Curtained Motel” in this research was limited to the area of Muang District, Chiang Mai Municipal area, including the interview with the owners. 6 case studies of “Curtained Motel” were illustrated and visualized through the drawing and graphic based on multi-layers in relations to urban, street, and architectural scale. The research finding can be pointed out that “Curtained Motels” could be conceptualized as “Other Space”– because of both their physicality - all of them were located at the area closed to the city, but not in the main street, presented in a hidden and ambiguous character, in particular could be able to access to many different streets as the most distinctive choice, and their social conditions – through their social constructed meaning and especially the use of “curtain” as a negotiation of the Laws enforcement. Reading through the light of “Other Space”, we could describe “Curtained Motels” as the representation of other sex-gender identities – excluding by the mainstream society of Heteronormality – once people get in and the curtain is down. They could become the haven for those who wish to step away from such a main discourse just of awhile. “Curtained Motels” seem to offer an "Other”moment in relation to Otherness of the architectural space, which can be anifested through the use of the curtain, the car and the drive way, in particular the privacy as vitally privilege. Once again, the aim objective of this research is to expand the body of knowledge on architectural history and theory, not encouraging to expand such a business. The research also focuses on how to document and analysis what actually happen in the contemporary society, by which “Curtain Motels” rapidly change and eventually disappear. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | โรงแรมม่านรูด | en_US |
dc.subject | วาทกรรมทางเพศ | en_US |
dc.subject | Curtained mote | en_US |
dc.subject | Sex-gender | en_US |
dc.subject | Discourses | en_US |
dc.subject | Other Spaces | en_US |
dc.title | โรงแรมม่านรูด : ภาพตัวแทนของพื้นที่แห่งความเป็นอื่น ในวาทกรรมทางเพศ-เพศสภาพ ของไทย | en_US |
dc.title.alternative | Curtained motel : representations of other spaces in Thai sex-gender discourses | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โมเต็ล | - |
thailis.controlvocab.thash | เพศ | - |
thailis.controlvocab.thash | เอกลักษณ์ทางเพศ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยสถาปัตยกรรมในเชิงประวัติศาสตร์และทฤษฎี ด้วยการใช้ทฤษฎี "พื้นที่แห่งความเป็นอื่น" ของมิเชล ฟูโก เป็นกรอบแนวทางหลักในการวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ ระหว่างมิติทางกายภาพกับมิติทางสังคมของโรงแรมบำนรูดเก็บข้อมูลประ วัดิศาสตร์จากเอกสารและงานวิจัยต่างๆ และกำหนดพื้นที่สำหรับเก็บข้อมูลกรณีศึกษาเป็นโรงแรมม่านรูดในตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม่รวมถึงสัมภาษณ์เจ้าของโรงแรม และเก็บข้อมูลทางกายภาพของโรงแรม 6 กรณีศึกษาได้ทำการถ่ายภาพ สเก็ต เขียนแบบ และจัดเรียงเพื่อการวิเคราะห์ในหลายระดับตั้งแต่ เมือง ถนนและสถาปัตยกรรม ผลลัพธ์จากการวิจัยพบว่โรงแรมม่านรูดเป็นสถาปัตยกรรมประเภทหนึ่งที่สามารถอธิบายได้ว่าเป็น "พื้นที่แห่งความเป็นอื่น" ตามแนวคิดทฤยฎีทั้งในแง่ของพื้นที่ตั้งของโรงแรมที่มักอยู่ในบริเวณที่ใกสักับเมืองแต่ไม่ติดกับถนนใหญ่ มีลักษณะที่ค่อนข้างปีดบังซ่อนเรันและอยู่ในพื้นที่ที่สามารถมีทางเข้าออกหลายทาง และในแง่ของเงื่อนไขทางสังคมที่สะท้อนจากความหมายที่ถูกหยิบยื่นให้ และเป็นผลลัพธ์ของการต่อรองทางกฎหมาขผ่านการเลือกใช้ม่านเป็นองค์ประกอบสำคัญการใช้ทฤษฎี "พื้นที่แห่งความเป็นอื่น" สามารถอธิบายได้ว่า โรงแรมม่านรูดถูกสร้างให้เป็นภาพตัวแทนของพื้นที่แห่งความเป็นอื่นทางเพศ โดยเฉพาะความเป็นอื่นในสังคมกระแสหลักของรักต่างเพศ ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อมีการเข้าใช้งานและม่านรูดปิดตัวลงและสามารถอธิบายได้ว่าเป็นพื้นที่สำหรับหลบเลี่ยงวาทกรรมทางเพศกระแสหลัก เปิดโอกาสให้ "ความเป็นอื่น" เกิดขึ้นในชั่วขณะหนึ่งโรงแรมม่านรูดเอื้อให้ "ความเป็นอื่น" นี้เกิดขึ้นผ่านการใช้ม่าน รถยนต์และความเป็นส่วนตัวการศึกษาวิเคราะห์โรงแรมม่านรูดจึงเป็นการขยายความรู้ทางประ วัติศาสตร์และทฤษฎีทางสถาปัตยกรรม มิใช่เพื่อการส่งเสริมแต่เป็นการบันทึกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในบริบทของสังคมร่วมสมัยที่โรงแรมม่านรูดกำลังเปลี่ยนแปลงและอาจจะสูญหายไป | en_US |
Appears in Collections: | ARC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
591731017 จักรกฤษณ์ มั่นชา.pdf | 35.99 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.