Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77933
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายนที เฉินบำรุง-
dc.contributor.authorก้าวเนตร ปวงสุต๊ะen_US
dc.date.accessioned2022-12-18T04:08:20Z-
dc.date.available2022-12-18T04:08:20Z-
dc.date.issued2022-10-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77933-
dc.description.abstractThis study aimed to examine marketing mix affecting decision of elderly in Mueang Chiang Mai district towards buying dietary supplements for health. Population of this study were identified, according to the convenience sampling, to the total of 385 samples: the senior people aged 55-59 years and elderly aged 60 years and over in Mueang Chiang Mai District who bought dietary supplements for health. Questionnaires were used as tool to collect data. Data obtained were analyzed by the descriptive statistics: i.e. frequency, percentage, means, and standard deviation; and the inferential statistics: i.e t-test, F-test, and the Fisher’s least significant difference: LSD for pairwise comparison. The results were presented as follows. Most samples were female aged 55-59 years. Regarding the behavior of buying dietary supplements for health, the findings showed that their buying frequency was mostly found at once a month with the purchase quantity of one product bottle. In each purchase, they spent 1,001-5,000 Baht. Most of them made decision to buy the studied product by themselves and preferred to buy it from general drugstore. The main reason of buying the studied product was for health care purpose. Regarding the pairwise comparison on the buying behavior towards dietary supplements for health between male and female samples and samples in different age groups, the findings suggested that differences in purchase frequency, quantity for each purchase, expense for each purchase, person influencing their buying decision, place of purchase, and main buying reason were observed at 0.05 level of statistical significance. Regarding the marketing mix affecting decision of elderly in Mueang Chiang Mai district towards buying dietary supplements for health, the finding demonstrated that in an overall view, the samples rated the marketing mix at high level of importance. Regarding the pairwise comparison between male and female elderly, the differences in price; place; promotion; people; service process; and physical evidence factors were observed at 0.05 level of statistical significance. The elderly in different age groups differently rated the level of importance for all marketing mix factors at 0.05 level of statistical significance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectส่วนประสมทางการตลาดen_US
dc.subjectผู้สูงวัยen_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพen_US
dc.titleส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้สูงวัยในอำเภอเมืองเชียงใหม่ในการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพen_US
dc.title.alternativeMarketing mix affecting decision of elderly in Mueang Chiang Mai district towards buying dietary supplements for healthen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร-
thailis.controlvocab.thashการตลาด-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนผสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพของผู้สูงวัยในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ประชากร ได้แก่ ผู้ที่กำลังเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ 55-59 ปี และผู้สูงวัยอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไป ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ที่เคยซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพผู้สูงวัย กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 385 คน ได้จากวิธีการเลือกตัวอย่างตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ t-test F-test ทำการเปรียบเทียบทดสอบรายคู่ด้วย วิธีของฟิชเชอร์ (Fisher’s least significant difference : LSD) ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นหญิง อายุ 55-59 ปี พฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพ พบว่า ความถี่ในการซื้อส่วนใหญ่ซื้อเดือนละ 1 ครั้ง ในปริมาณ 1 ขวด/กล่อง โดยมีค่าใช้จ่ายในการซื้อเฉลี่ยต่อครั้งอยู่ในช่วง 1,001 – 5,000 บาท ส่วนใหญ่ตัดสินใจด้วยตัวเอง โดยนิยมซื้อจากร้านขายยาทั่วไป เหตุผลหลักในการซื้อ ส่วนใหญ่ซื้อเพื่อการบำรุงสุขภาพ ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพของชายและหญิง และผู้สูงวัยที่มีอายุแตกต่างกัน พบว่า ผู้สูงวัยชายและหญิง รวมทั้งผู้สูงวัยที่มีอายุแตกต่างกัน มีความถี่ในการซื้อ ปริมาณการซื้อต่อครั้ง ค่าใช้จ่ายในการซื้อต่อครั้ง ผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อ สถานที่ซื้อ เหตุผลหลักในการซื้อแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้สูงวัยในการซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพ พบว่า ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างให้ความสำคัญในระดับมาก และการเปรียบเทียบระหว่างผู้สูงวัยเพศชายและหญิง พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในด้านราคา การจัดจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด บุคลากร กระบวนการการให้บริการ และลักษณะทางกายภาพภายนอก ส่วนผู้สูงวัยที่มีอายุแตกต่างกัน ให้ความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ .05en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631532015 ก้าวเนตร ปวงสุต๊ะ.pdf2.06 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.