Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWarangkhana Chisowwong-
dc.contributor.advisorAnucha Sirimalaisuwan-
dc.contributor.advisorKannika Na Lampang-
dc.contributor.authorSajana Thapaen_US
dc.date.accessioned2022-12-03T08:06:07Z-
dc.date.available2022-12-03T08:06:07Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77900-
dc.description.abstractJapanese Encephalitis is a serious vector borne viral zoonotic disease of pigs, birds, horses etc. active especially in Asia and Northern Australia. In Nepal until 2015, JE cases were reported in 63 districts out of 75. The objective of the study was to determine the knowledge, attitude and practice status of people on Japanese Encephalitis in high and low endemic area of Nepal. A structured questionnaire was used to gather the general information and that regarding the Knowledge, Attitude and Practice of the people. Three hundred ninety seven questionnaires were conducted in six high and six low endemic areas of the country. Initially, descriptive analysis was done of the collected data. It was found that only about half of the population (58.43%) portrayed desirable KAP results. Significant population (11.08%) showed good attitude and demonstrated good practice. Also a remarkable portion of the population had desirable attitude (21.91%) despite demonstrating lack of knowledge and conducting bad practices. A small portion of people (8.56%) had very undesirable results in all aspects of KAP. Knowledge about JE is lacking in both high and low endemic area while practice and attitude is good due to the traditional practices developed over the years through environment adoption which help in prevention of JE in those areas. The various associations of KAP with assorted factors was found out by Chi- square test. Literate people were found to have better knowledge on vaccine and significance increases with increase in education level. Farmers had better knowledge towards presence of JE in animals than other professions. Elderly people had more knowledge about vectors and vaccine and also practiced indoor housing system with nets more often. More educated people showed better attitude towards vaccination and practice indoor housing system with nets more often. People had most desirable attitude which would enable better practices and will for knowledge acquisition. So, more awareness on JE is required on both high and low endemic zones.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectJapanese Encephalitisen_US
dc.titleKnowledge, attitude and practice assessment of people on Japanese Encephalitis in high and low endemic area of Nepalen_US
dc.title.alternativeการประเมินความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของประชากรเกี่ยวกับโรคไข้สมองอักเสบเจอีในเขตพื้นที่ที่มีการเกิดโรคสูงและต่ำในประเทศเนปาลen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshJapanese Encephalitis-
thailis.controlvocab.lcshJapanese B encephalitis-
thailis.controlvocab.lcshFlaviviral diseases-
thailis.controlvocab.lcshVirus diseases-
thailis.controlvocab.lcshCommunicable diseases -- Transmission-
thailis.controlvocab.lcshCarrier state (Communicable diseases)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคไข้สมองอักเสบเจอี เป็น โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสติดต่อสัตว์สู่คนที่สำคัญผ่านแมลงพาหะ สัตว์ที่สามารถนำโรคได้คือสัตว์ตระกูลสุกร นกและม้า โดยเฉพาะในประเทศทวีปเอเชียและ ทางเหนือของทวีปออสเตรเลีย ในประเทศเนปาลจากอดีตจนถึงปี ค.ศ. 2015 มีรายงานจำนวน ผู้ป่วยจากโรคไข้สมองอักเสบ เจอีใน 63 อำเภอจากทั้งหมด 75 อำเภอ วัตถุประสงค์ของ การศึกษานี้เพื่อทราบความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติของประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้สมองอักเสบ เจอีในพื้นที่การระบาดเฉพาะถิ่นในระดับสูงและระดับต่ำในประเทสเนปาล แบบสอบถามแบบ มีโครงสร้างถูกใช้ในการเก็บข้อมูล ทำการเก็บแบบสอบถามจำนวน 397 ราชในพื้นที่ที่มีการ ระบาดระดับสูง จำนวน 6 พื้นที่และระดับต่ำจำนวน 6 พื้นที่ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล จากการศึกมาพบว่า ตัวอย่างประชากรสัดส่วนร้อยละ 58.43 มีระดับความรู้ ทัศนติและการปฏิบัติในระดับที่น่าพอใจ ตัวอย่างประชากรสัดส่วนร้อยละ 11.08 มีระดับความรู้และการปฏิบัติที่ดี และร้อยละ 21.91 มีทัศนคติที่ดี กลุ่มตัวอย่างประชากร ร้อยละ 8.56 มีระดับความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติที่ไม่น่าพึงพอใจ พบว่าความรู้เกี่ยวกับโรค ไข้สมองอักเสบเจอีอยู่ในระดับต่ำทั้งในพื้นที่ ที่มีการระบาดเฉพาะถิ่นระดับต่ำและระดับสูง ในขณะที่ทัศนคติและการปฏิบัติอยู่ในระดับดีเนื่องจากสถานการณ์การระบาดในพื้นที่ทำให้มี การพัฒนาการปฏิบัติสำหรับการป้องกันโรคในพื้นที่ ทำการหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ เกี่ยวข้องกับความรู้ ทัศนคติและการปฏิบัติโดยใช้สถิติไคสแควร์ กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ ได้รับการศึกษาพบว่ามีความรู้ในเรื่องวัคซีนและมีระดับความรู้เพิ่มมากขึ้นเมื่อระดับการศึกษา มากขึ้น ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับแมลงพาหะและวัคซีนรวมถึงการปฏิบัติเกี่ยวกับการกางมุ้งกัน แมลงในโรงเรือน กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการศึกษามีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับวัคซีนและการปฏิบัติ เกี่ยวกับการกางมุ้งกันแมลงในโรงเรือน หากประชากรมีทัศนติที่ดีจะสามารถนำไปสู่การ ปฏิบัติที่ดีขึ้น บนพื้นฐานของความรู้ที่มีอยู่ ดังนั้นการสร้างความดระหนักจึงเป็นสิ่งจำเป็น สำหรับพื้นที่ที่มีการระบาดทั้งระดับสูงและระดับต่ำen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621435802 SAJANA THAPA.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.