Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77899
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเขมกร ไชยประสิทธิ์-
dc.contributor.authorทวีวัฒน์ เล็กสกุลen_US
dc.date.accessioned2022-12-03T08:00:11Z-
dc.date.available2022-12-03T08:00:11Z-
dc.date.issued2564-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77899-
dc.description.abstractThe study on "Inventory Management of K. Vattanasin Distribution Center Company Limited" aimed to increase efficiencies of the company's inventory management and classification in order to reduce product costs to the lowest rate while maintain product quantity to meet with customer demand. In this study, inventory was classified into categories by the ABC analysis; then, the economic order quantity for each category was calculated in order to identify appropriate amount of safety stock and reorder point to the order quantity. According to application of ABC Analysis to the sales of K. Vattanasin Distribution Center Company in the fiscal year 2019 (from 1 January 2019-31 December 2019), the findings presented that the company had 9 product categories in total. Based upon the ABC Analysis, there were 49 items enlisted in the A category, of which the costs were greater than 70% of the overall company's inventory costs. The average values of inventory items in this category were at the amount of 213,378,583 Baht per year. Results of the study on coefficient of variation for inventory items in Category A revealed that the inventory in this category had rather constant demand and were able to be computed for the economic order quantity. Consequently, the reorder point was re-calculated with the determination of service level at 95%, According to the calculation to compare the total inventory costs being spent before and after economic order quantity implementations, which was adjusted to suit with the actual demand, the results suggested with the economic order quantity implementation, the total costs for inventory management were decreased by 4,301,823 Baht/ year or 74.78% of the total costs. In considerations of the ordering cost and the holding cost, the findings revealed that after the inventory management was studied, the ordering cost was decreased by 2,375,630 Baht/ year or 78.25% of the ordering cost. In the meanwhile, the study of inventory management also brought an impact to the holding cost. After the inventory management was conducted, the holding cost was decreased by 1,940,739 Baht per year or 71.44% of the holding cost. Apparently, after the study on inventory management was conducted, the ordering cost and the holding cost along with the total costs were decreased. All results of this study could, therefore, be applied to explore and analyze the suitable inventory management guidelines for the K. Vattanasin Distribution Center Company Limited.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการสินค้าคงคลังของบริษัท ศูนย์กระจายสินค้า ก.วัฒนศิลป์ จำกัดen_US
dc.title.alternativeInventory management of K.Vattanasin Distribution Center Company Limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashบริษัท ศูนย์กระจายสินค้า ก.วัฒนศิลป์ จำกัด-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมสินค้าคงคลัง-
thailis.controlvocab.thashสินค้าคงคลัง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษางานวิจัยเรื่อง การจัดการสินค้าคงคลังของ บริษัท ศูนย์กระจายสินค้า ก.วัฒนศิลป์ จำกัด จำกัด มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลังและการจัด ประเภทของสินค้าคงคลัง ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดยให้มีต้นทุนต่ำที่สุด ในขณะที่มีปริมาณ สินค้าเพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า โดยใช้การแบ่งประเภทสินค้าคงคลังด้วยการวิเคราะห์ ABC แล้วนำมาคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหชัด เพื่อหาปริมาณการจัดเก็บสินค้าคงคลังและจุดสั่งซื้อ ใหม่ที่เหมาะสมกับปริมาณการสั่งซื้อสินค้า ผลการศึกยาครั้งนี้ พบว่า การวิเคราะห์ตามทฤษฎี ABC Analysis โดยนำข้อมูลยอดขาย ย้อนหลังของ บริษัท ศูนย์กระจายสินค้า ก.วัฒนศิลป์ จำกัดในช่วงปิ้งบประมาณ 2562 (ระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562) พบว่าทางกิจการมีสินค้าทั้งหมด 9 เมื่อนำมาวิเคราะห์แบ่ง ประเภทสินค้าคงคลังด้วยการวิเคราะห์ ABC แล้ว พบว่า เฉพาะสินค้าในกลุ่ม A จำนวน 49 รายการ เป็นสินค้าคงคลังที่มีมูลค่ามากกว่า 70% ของราคาสินค้าคงคลังทั้งหมดโดยมีมูลค่าสินค้าเฉลี่ยรวม 213,378,583 บาทต่อปี จากนั้นนำสินค้าในกลุ่ม A มาคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน พบว่า มีความต้องการที่ค่อนข้างคงที่ สามารถนำไปใช้คำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดได้ แล้ว คำนวณหาจุดสั่งซื้อใหม่ โดยกำหนดระดับการให้บริการที่ร้อยละ 95 ผลการคำนวณพบว่าการ เปรียบเทียบต้นทุนรวม ทั้งก่อนการศึกษาและหลังจากการศึกษาประยุกต์ใช้ปริมาณการสั่งซื้อที่ ประหยัดที่ปรับให้ตรงกับความเป็นจริง พบว่า ทำให้ต้นทุนรวมในการจัดการสินค้าคงคลังลดลง เท่ากับ 4,301,823 บาท/ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 74.78 ของต้นทุนรวม โดยเมื่อแยกพิจารณาออกเป็น ต้นทุนการสั่งซื้อสินค้าและต้นทุนในการเก็บรักษา พบว่า หลังการศึกษาในการบริหารคลังทำให้ ต้นทุนการสั่งซื้อลดลง 2,375,630 บาท/ปี โดยคิดเป็นร้อยละ 78.25 ของต้นทุนการสั่งซื้อ และส่งผล ต่อต้นทุนในการเก็บรักษา พบว่า หลังการศึกษาในการบริหารคลังทำให้ต้นทุนในการเก็บรักษา ลดลง 1,940,739 โดยคิดเป็นร้อยละ 71.44 ของต้นทุนการเก็บรักษา จะเห็นได้ชัดว่า หลังการศึกษาทำให้ ต้นทุนการสั่งซื้อสินค้าและต้นทุนในการเก็บรักษา รวมไปถึงต้นทุนรวมลดลงในการการจัดการสินค้า คงคลังได้ ซึ่งจากผลการศึกษาทั้งหมดสามารถนำไปใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์หาแนวทางในการ ดำเนินการบริหารคลังสินค้าของ บริษัท ศูนย์กระจายสินค้า ก.วัฒนศิลป์ จำกัด ได้ต่อไปen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532029 ทวีวัฒน์ เล็กสกุล.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.