Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77843
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรา ตันติประภา-
dc.contributor.advisorวรัท วินิจ-
dc.contributor.authorปวีณา ทาใจen_US
dc.date.accessioned2022-11-06T05:55:23Z-
dc.date.available2022-11-06T05:55:23Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77843-
dc.description.abstractThis independent study aims to study the customer experience and pain points when customers engaged with services at Small Animal Hospital, Faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai University. A total of 2 0 0cases were studied by non-participant observation method during obtained services in the general medicine, exotic animal medicine, pet vaccinations, and emergency. The study was observed from 08.00a.m. to 08.00p.m.at front stage of the hospital. The Customer Journey concepts were used to analyze the customer service experience and pain points towards at the front stageof Small Animal Hospital that divided into 5 steps, started from Small Animal Hospital arrival, queue waiting time, entering the examination room, exiting the examination room and leaving the Small Animal Hospital. Each touchpoint of service, the pain point was expressed as a negative experience. The results of this study showed that; 1) Step of Arriving to Small Animal Hospital, found the positive experience: the customers were happy, confidence and friendly at 19% and negative experience; the customers expressed worry at 5.5% and average time from arrival to waiting for examination room was 3 minutes 2) Step of Waiting time for entering examination room, positive experience, the customers were happy, friendly and communicated with other customers at 14% and negative experience, the customers expressed worry at 10.5% and average waiting time was 32 minutes 3) Step of Entering the examination room, positive experience, the customers was happy, confidence and friendly at 11. 5% and negative experience, the customers have difficulty to take sick pets into the examination room (the sick pets refused to walk, squirmed) at 3% and the customers entered the correct examination room at 93.5% 4) Step of Exit the examination room, positive experience, the customers were happy and no worries at 26% and negative experience, the customer expressed worry at 15.5% and average time from exit the examination room to exit the Small Animal Hospital are 36 minutes and 5) Step of Exit the Small Animal Hospital, positive experience, the customers were happy and no worry at 34.5% and negative experience, the customer expressed worry at 7.5% and average total time were 87 minutes. In summary, it was found that the positive customer experience was more than negative customer experience. However, it was found that the customers encountered a long waiting times in service.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสบการณ์การใช้บริการของลูกค้าโรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCustomer service experience towards small animal hospital, faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลสัตว์-
thailis.controlvocab.thashสัตว์-
thailis.controlvocab.thashงานบริการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การใช้บริการของลูกค้า โรงพยาบาลสัตว์เล็ก และเพื่อศึกษาปัญหาที่ลูกค้าพบในการใช้บริการโรงพยาบาลสัตว์เล็ก คณะ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศึกษาโดยใช้การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ผู้ใช้บริการจำนวน 200 ราย จากกลุ่มลูกค้าที่มาใช้บริการทางด้านอายุรกรรมทั่วไป คลินิกเฉพาะทาง วัดซีน และฉุกเฉิน ในช่วงระหว่างเวลา 00.20-00.08 น. บริเวณพื้นที่ส่วนหน้า (Front stage) ในการ เข้ารับบริการของลูกค้า ผลการศึกษาโดยใช้แนวคิดเส้นทางการใช้บริการของลูกค้า (Customer Journey) ในการ วิเคราะห์ประสบการณ์ของลูกค้า และปัญหาที่ลูกค้าพบในการเข้ารับบริการพื้นที่ส่วนหน้า (Front stage) ซึ่งแบ่งเป็น ขั้นตอนเริ่มจากการเข้ามายังโรงพยาบาล, การรอเข้าห้องตรวจ, การเข้าห้อง ตรวจ, การออกจากห้องตรวจ และการออกจากโรงพยาบาล ในแต่ละจุดสัมผัสของการใช้บริการ โดยปัญหาจะแสดงในรูปแบบประสบการณ์เชิงลบ พบว่า 1) การเข้ามายังโรงพยาบาล ประสบการณ์เชิงบวก ลูกค้ามีสีหน้าท่าทางยิ้มแย้ม มั่นใจ และเป็นมิตร กิดเป็นร้อยละ 19 ประสบการณ์เชิงลบ ลูกค้ามีสีหน้ากังวล คิดเป็นร้อยละ 5.5 และค่าเฉลี่ยระยะเวลาตั้งแต่เข้ามา โรงพยาบาลถึงเวลาเริ่มรอเข้าห้องตรวจ คือ การรอเข้าห้องตรวจ 2 นาที 3) ประสบการณ์เชิงบวก ถูกค้ามีสีหน้ำยิ้มแย้ม เป็นมิตร ทักทาย และพูดคุยทำความรู้จักกับลูกค้าคนอื่น คิดเป็นร้อยละ 14 5.10 ประสบการณ์เชิงลบ ลูกค้ามีสีหน้ากังวล คิดเป็นร้อยละ และค่าเฉลี่ยระยะเวลาในการรอเข้า ห้องตรวจ คือ 3 นาที 32) การเข้าห้องตรวจ ประสบการณ์เชิงบวก ลูกค้ำาเดินเข้าห้องตรวจด้วยสี หน้าท่าทางยิ้มเย้ม และมั่นใจ คิดเป็นร้อยละ ประสบการณ์เชิงลบ ลูกค้ามีความลำบากในการ 5.11 สัตว์ป่วยไม่ยอมเดิน) พาสัตว์ป่วยเข้าห้องตรวจ, สัตว์ป่วยดิ้น) คิดเป็นร้อยละ 3 และลูกค้าเดินเข้า ห้องตรวจได้อย่างถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 4 5.93) การออกจากห้องตรวจ ประสบการณ์เชิงบวก ลูกค้าเดินออกจากห้องตรวจด้วยสีหน้ายิ้มแย้ม ไร้กังวล คิดเป็นร้อยละ ประสบการณ์เชิงลบ 26 ลูกค้ามีสีหน้ากังวล คิดเป็นร้อยละ 5.15และค่าเฉลี่ยระยะเวลาตั้งแต่ออกจากห้องตรวจถึงเวลาออก จากโรงพยาบาล คือ นาที 36และ 5) การออกจากโรงพยาบาล ประสบการณ์เชิงบวก ลูกค้าเดินออก จากโรงพยาบาล ด้วยสีหน้ายิ้มแย้ม ไร้กังวล คิดเป็นร้อยละ ประสบการณ์เชิงลบ ลูกค้า 5.34มีสีหน้า กังวล คิดเป็นร้อยละ 5.7และค่าเฉลี่ยระยะเวลาในการเข้าใช้บริการทั้งหมด คือ นาที 87โดยสรุปใน ภาพรวม พบว่า ลูกค้าพบประสบการณ์เชิงบวกมากกว่าประสบการณ์เชิงลบ อย่างไรก็ตาม พบว่า ลูกค้ามีระยะเวลาในการรอคอยการให้บริการยาวนานen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591532290 ปวีณา ทาใจ.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.