Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77838
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภัทรณัฏฐ์ บัณฑิตคุณานนต์-
dc.contributor.advisorสิทธิชัย วนจันทรรักษ์-
dc.contributor.authorนภัสสร ดุษฎีดาเกิงen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T09:46:27Z-
dc.date.available2022-11-05T09:46:27Z-
dc.date.issued2564-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77838-
dc.description.abstractThe objective of this study was to evaluate the effect of surface treatments application of exposed dentin with Teethmate (TDA) and Portland cement on dentin permeability and shear bond strength of resin cement under simulated pulpal pressure condition in extracted human teeth. Sixty extracted teeth were divided equally into six groups; control, TDA and Portland cement groups with and without simulated 15 cmH2O pulpal pressure. Each surface treatment was randomly applied to dentin surface. Dentin permeability was evaluated for simulated pulpal pressure groups by recorded fluid droplets on dentin surface using replica technique. The replica was examined under SEM. The specimen was re-polished and re-applied with the same surface treatment. The composite rod was bonded to dentin with self-etched resin cement. The shear bond strength was tested. The data were analyzed using Two-way ANOVA and Tukey's multiple comparisons. Specimens with simulated pulpal pressure had significantly lower shear bond strength than without pulpal pressure (P<0.01). Surface treatment groups, TDA and Portland cement, showed significantly higher shear bond strength than control under simulated pulpal pressure condition (P<0.05). While no significant difference was seen in non-simulated pulpal pressure groups. SEM micrograph showed that both surface treatment groups had significantly less permeability of dentin as smaller fluid droplets were recorded. Dentin surface treatments effectively reduced dentin permeability and increased shear bond strength of resin cement in simulated pulpal pressure condition. But there were no advantages over the control group for non-simulated pulpal pressure condition.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการลดการซึมผ่านของของเหลวโดยใช้สารลดการเสียวฟัน และพอร์ตแลนด์ซีเมนต์ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์กับเนื้อฟันen_US
dc.title.alternativeThe Effect of permeability reduction using desensitizer agents and portland cement on shear bond strength of resin cement to dentinen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเรซินทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashทันตวัสดุ-
thailis.controlvocab.thashทันตกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อประเมินการลดการซึมผ่านของของเหลวในเนื้อฟันและค่า กำลังแรงยึด หลังการปรับสภาพผิวฟันด้วยสารปรับสภาพผิวฟันสองชนิดคือ ทีธเมท และพอร์ตแลนด์ ซีเมนต์ ใช้ฟันที่ถูกถอนออกมาจำนวน 60 ซี่ แบ่งออกเป็น 6 กลุ่มเท่าๆกันคือ กลุ่มควบคุม กลุ่มทีช เมท และกลุ่มพอร์ตแลนด์ซีเมนต์ โดยการจำลองแรงดันฟันที่ 15 เซนติเมตรน้ำและไม่จำลองแรงดัน ฟัน ทำการสุ่มสารปรับสภาพผิวฟันเพื่อทาลงที่ผิวเนื้อฟัน ทำการประเมินการลดการซึมผ่านของ ของเหลวในกลุ่มที่ได้รับการจำลองแรงดันฟัน โดยการบันทึกหยดของไหลบบผิวเนื้อฟันด้วยวิธี เรพลิกา และนำแบบพิมพ์ที่ได้ไปศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด นำขึ้น ทดสอบมาขัดและปรับสภาพผิวฟันด้วยสารปรับสภาพผิวฟันเดิมอีกครั้ง นำแท่งคอมโพสิตยึดกับผิว ฟันด้วยเรซินชีเมนต์ชนิดเซลฟ์เอทช์ และทดสอบหาค่ากำลังแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์กับเนื้อ ฟัน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิชีหาความแปรปรวนแบบสองทาง และเปรียบเทียบเชิงซ้อนชนิดทูกีย์ ผลการศึกษาพบว่าในกลุ่มที่ได้รับการจำลองแรงดันฟันมีค่ากำลังแรงยึดเฉือนน้อยกว่ากลุ่มที่ ไม่ได้รับการจำลองแรงดันฟันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.01) ในกลุ่มที่ ได้รับการจำลองแรงดัน ฟันในกลุ่มที่ทีธเมท และพอร์ตแลนด์ซีเมนต์มีค่ากำลังแรงยึดเฉือนมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (P <0.05) ในขณะที่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของกลุ่มทดลองที่ไม่ได้จำลอง แรงดันฟัน ภาพจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดพบว่ากลุ่มทดลองทั้งสองมีขนาดหยด ของไหลที่มีขนาดเล็กกว่า แสดงให้เห็นถึงการซึมผ่านของของเหลวที่น้อยกว่าอย่างมีนัยสำคัญ สารปรับสภาพผิวฟันสามารถลดการซึมผ่านของของเหลวได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ สามารถเพิ่มค่ากำลังแรงยึดเฉือนระหว่างเรซินซีเมนต์และผิวฟันในสภาวะที่จำลองแรงดันฟัน ในขณะที่ไม่ส่งผลต่อค่ากำลังแรงยึดเฉือนเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมในสภาวะที่ไม่ใด้จำลองแรงดันฟันen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931014 นภัสสร ดุษฎีดำเกิง.pdf4.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.