Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77836
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์-
dc.contributor.authorอรพรรณ จันทราen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T09:41:30Z-
dc.date.available2022-11-05T09:41:30Z-
dc.date.issued2563-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77836-
dc.description.abstractStudies on oral health and smoking among the novices has been neglected. This research aimed to study oral health status, access to dental cares, oral health behavior and smoking habit of novices in the general education section of Phrapariyatidhamma Schools in Fang, Mae Ai and Chaiprakarn District, Chiang Mai Province. This is a cross-sectional descriptive study divided into 2 phases. Phase 1 is a quantitative study, using questionnaires to collect data about demographic characteristics, access to dental cares, oral health behavior and smoking habit. Using oral examination to collect data about dental caries and periodontal status. The data were analyzed by descriptive statistics in percentage, mean and standard deviation. Phase 2 was a qualitative methodology. Using in-depth interviews and observations about problematic oral health situations from Phase 1. The results were found that in 303 novices, 32.01% were non-Thai nationalities and Taiyai ethnic groups, 38.61%, which is close to the Khon Muang (Lanna) ethnic group, 37.62%. The overall access to dental cares had an average score of 64.64 - 16.27%, was moderate level. The behavior of oral health, novices brush their teeth before bed the most as some of the most days, 41.91%. Eating snack the most at a rate of 1-3 days / week, 48.51%. Smoking habit, novices have ever smoked 22.44% and have smoked until now 16.83%. The oral health status showed that the DMFT index had a mean of 3.66 ± 3.21 teeth per person, the gingival index had a mean of 1.54 ± 0.29 points, while the OHI- S index had a mean of 2.83 ± 1.20 points. These indexes are all moderate level. From the result of quantitative phase, the most problematic oral health situation is smoking habit. Therefore, the qualitative methods were collected about smoking among 16 novices and one teacher, it was found that the environment in homes, temples, schools and communities plays an important role in promoting or preventing novice smoking. Including smoking linked to religious rituals. All have a link to make a novice start smoking, continue to smoke and stop smoking. In conclusion, high- smoking habit is a major oral health problem among novices that related to social structure. Therefore, the implementation of the novice smoking solution is necessary to expedite further solutions.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสถานการณ์สุขภาพช่องปากและการสูบบุหรี่ของสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา อำเภอฝาง แม่อาย และไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeOral health situation and smoking of novices in the general education section of Phrapariyattidhamma schools, Fang, Mae Ai and Chaiprakarn District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนพระปริยัติธรรม-
thailis.controlvocab.thashปาก -- การดูแลและสุขวิทยา-
thailis.controlvocab.thashสามเณร -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพช่องปากและการสูบบุหรี่ ในสามเณรเป็นสิ่งที่ถูกละเลยไป การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสภาวะสุขภาพช่องปาก การเข้าถึงบริการทางทันตกรรม พฤติกรรม สุขภาพช่องปากและพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของสามเณรในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ ศึกษาอำเภอฝาง แม่อาย และ ไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบ ภาคตัดขวาง แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาด้วยวิธีการเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถาม เกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร์ การเข้าถึงบริการทางทันตกรรม พฤติกรรมสุขภาพช่องปาก และพฤติกรรมการสูบบุหรี่ รวมทั้งใช้แบบตรวจสุขภาพช่องปากในการตรวจสภาวะฟันผุ และสภาวะ ปริทันต์ แล้ววิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเยี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนระยะที่ 2 การศึกษาด้วยวิธีการเชิงคุณภาพ โดยใช้การสังเกตและการสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับ สถานการณ์สุขภาพช่องปากที่เป็นปัญหาจากระยะที่ 1 ผลการวิจัย พบว่า ในสามเณรจำนวน 303 รูป ไม่มีสัญชาติไทยร้อยละ 32.01 เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ ไทยใหญ่ร้อยละ 38.61 ซึ่งใกล้เคียงกลุ่มชาติพันธุ์คนเมือง (ล้านนา) ที่มีร้อยละ 37.62 การเข้าถึงบริการ ทางทันตกรรมโดยรวมมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 64.64 ± 16.27 อยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านพฤดิกรรม สุขภาพช่องปาก ส่วนใหญ่แปรงฟันก่อนนอนเป็นบางวันร้อยละ 41.91 ส่วนใหญ่กินขนมกรุบกรอบ 1-3 วันสัปดาห์ร้อยละ 48.51 ด้านพฤดิกรรมการสูบบุหรี่ เคยสูบบุหรี่ร้อยละ 22.44 และสูบบุหรี่จนถึง ปัจจุบันร้อยละ 16.83 ผลการตรวจสุขภาพช่องปาก พบว่า ดัชนีฟันผุ ถอน อุดมีค่าเฉลี่ย 3.66 ± 3.21 ซึ่ง ต่อคน ดัชนี gingival index มีค่าเฉลี่ย 1.54 ± 0.29 กะแนน ส่วนค่าดัชนี OHI-S มีค่าเฉลี่ย 2.83 ± 1.20 คะแนน โดยพบว่าค่าดัชนีจากการตรวจสุขภาพช่องปากเหล่านี้ล้วนอยู่ในระดับปานกลางทั้งสิ้น จาก ผลการวิจัยเชิงปริมาณ สถานการณ์สุขภาพช่องปากที่เป็นปัญหามากที่สุด คือ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดังนั้นจึงเก็บข้อมูลด้วยวิธีการเชิงคุณภาพเกี่ยวกับการสูบบุหรี่เพิ่มเติมในสามเณรจำนวน 16 รูปและ ครูจำนวน 1 คน พบว่า สภาวะแวดล้อมในบ้าน วัด โรงเรียนและชุมชนมีส่วนสำคัญในการสนับสนุน หรือป้องกันการสูบบุหรี่ในสามเณร รวมทั้งการอยู่ในเพศสภาพบรรพชิตที่เชื่อมโยงกับพิธีกรรมทาง ศาสนา ล้วนมีส่วนยึดโยงทำให้สามเณรเริ่มต้นสูบบุหรี่ ยังคงสูบบุหรี่ต่อไป หรือเลิกสูบบุหรี่ โดย สรุปพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ที่สูงเป็นปัญหาสุขภาพช่องปากที่สำคัญในสามเณร ซึ่งเกี่ยวโยงกับ โครงสร้างทางสังคม ดังนั้นการดำเนินการแก้ไขปัญหาการสูบบุหรี่ในสามเณรจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นต้อง เร่งดำเนินการแก้ไขต่อไปen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610931043 อรพรรณ จันทรา.pdf4.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.