Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77816
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิฑูร ธนบดีกิจ-
dc.contributor.advisorภารวี มณีจักร-
dc.contributor.authorสุจิตรา คำกัมพลen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T08:25:21Z-
dc.date.available2022-11-05T08:25:21Z-
dc.date.issued2564-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77816-
dc.description.abstractThe purposes of this work are following by 1.) to study the effect of marketing mix toward repurchase decision of lottery saving in Chiang Mai province. 2.) to study the effect of brand image toward repurchase decision of lottery saving in Chiang Mai province. Survey data were collected from 420 customers who have repurchase lottery saving in Chiang Mai province that have confidential value equal to 0.956. Frequency, percentage, average, standard deviation, and Multiple Regression were used in this study. The results show that 1.) Product, Price, Place, Promotion, and Process dimensions had a positive impact on customer to repurchase lottery saving in Chiang Mai province with statistic significant at 0.05 and 32.7% of the repurchase decision can be predicted. 2.) Corporate image, Social responsibility, and Location had a positive impact on customer to repurchase lottery saving in Chiang Mai province with statistic significant at 0.05 and 29.6% of the repurchase decision can be predicted. In addition, banks should focus on personal development. and more physical evidence Including the moral and ethical aspects should pay attention to the protection of customer information and employee honesty.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดและภาพลักษณ์องค์กรต่อการตัดสินใจซื้อซํ้าสลากออมทรัพย์ ในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Effect of marketing mix and brand image toward repurchase decision of lottery saving in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสลากออมทรัพย์-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashการเลือกของผู้บริโภค-
thailis.controlvocab.thashผู้บริโภค – การตัดสินใจ-
thailis.controlvocab.thashผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashวิจัยการตลาด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการ ตัดสินใจซื้อซ้ำสลากออมสิน สลากออมทรัพย์ ธ.ก.ส. และสลากออมทรัพย์ ธอส. ในอำเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 2) ศึกษาภาพลักษณ์องค์กรที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำสลากออมสิน สลากออมทรัพย์ ธ.ก.ส. และสลากออมทรัพย์ ธอส. ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรศึกษา ได้แก่ ผู้ที่ซื้อช้ำสลากออมสิน สลากออมทรัพย์ ธ.ก.ส และสลากออมทรัพย์ ธอส. ใน เขตอำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 420 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม ที่มีค่า ความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.956 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถคถอยพหุคูณ (Multiple Regression) ผลการศึกษาพบว่า 1) องค์ประกอบส่วนประสมทางการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้าน สถานที่ ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านกระบวนการ สามารถร่วมกันพยากรณ์กระบวนการ ตัดสินใจซื้อซ้ำสลากออมทรัพย์ได้อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 สามารถพยากรณ์การ ตัดสินใจซื้อช้ำสลากออมทรัพย์ได้ร้อยละ 32.7 2) องค์ประกอบของภาพลักษณ์องค์กร ด้านชื่อเสียง องค์กร ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และด้านสถานที่ สามารถร่วมกันพยากรณ์กระบวนการตัดสินใจซื้อซ้ำ สลากออมทรัพย์ได้อย่างมีระดับนัขสำคัญทางสถิติระดับ 0.05 สามารถพยากรณ์การตัดสินใจซื้อซ้ำสลาก ออมทรัพย์ได้ร้อยละ 29.6 นอกจากนี้ธนาคารควรให้ความสำคัญในการพัฒนาด้านบุคคล และด้านการ นำเสนอทางกายภาพมากยิ่งขึ้น รวมถึงด้านคุณธรรม จริยธรรม ควรให้ความสำคัญกับการรักษาข้อมูล ของลูกค้า ความซื่อสัตย์สุจริตของพนักงานen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621632010 สุจิตรา คำกัมพล.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.