Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77811
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสายนที เฉินบำรุง-
dc.contributor.authorวินุรา ธิติไพศาลen_US
dc.date.accessioned2022-11-05T08:17:06Z-
dc.date.available2022-11-05T08:17:06Z-
dc.date.issued2564-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77811-
dc.description.abstractThis independent study aimed to examine marketing mix affecting pulmonologists towards selecting medicine in chronic obstructive pulmonary disease drug group. Data were gathered by the specific method. Questionnaires were distributed, according to the purposive sampling, to 267 pulmonologists of state and private hospitals in Thailand who directly involved in the selection of medicine in chronic obstructive pulmonary disease drug group. Data obtained were, then, analyzed by the descriptive statistics: i.e. frequency, mean of a frequency distribution table, and standard deviation, and the inferential statistics of the importance of marketing mix affecting pulmonologists towards selecting medicine in chronic obstructive pulmonary disease drug group. The findings revealed that most respondents were male in the age between 36-40 years old. They worked at 401-800 bed-provincial hospitals as the specialist in Pulmonary Medicine. In a week, there were around 11-50 patients receiving treatment and being prescribed the inhaled drugs, enlisted in both National List of Essential Drugs and Non- Essential Drug List. The medicine in chronic obstructive pulmonary disease drug group that they selected for their patients with chronic obstructive pulmonary disease were Inhaled Corticosteroid (ICS) + Long Acting Beta 2 Agonist (LABA). Device for inhaled medications was the Metered Dose Inhaler (MDI). Priorities in selecting medicines for the chronic obstructive pulmonary disease patient were as follows: Long Acting Muscarinic Antagonist (LAMA); Long Acting Muscarinic Antagonist (LAMA) + Long Acting Beta 2 Agonist (LABA); Inhaled Corticosteroid (ICS) + Long Acting Beta 2 Agonist (LABA); Triple Therapy (ICS + LABA + LAMA); and Short Acting Bronchodilators, respectively. The findings also presented that the three marketing mix factors namely product, price, and place were very important for the respondents; while promotion factor was important. Product factor received the highest mean score and the most important element was the efficiency of drug in reducing the recurrence of the disease as well as reducing level of mortality, according to researches. In price factor, the most important element was the drug being enlisted in the National List of Essential Drugs. In place factor, the most important element was the continuous availability of drugs without shortage. In promotion factor, the most important element was the medical representative who had adequate knowledge about the products and could provide accurate and clear instruction. When classifying the respondents according to their specialists, the results presented that the pulmonologist respondents gave their first priority to the Long Acting Muscarinic Antagonist (LAMA); and Inhaled Corticosteroid (ICS) + Long Acting Beta 2 Agonist (LABA) for their chronic obstructive pulmonary disease patients. They rated product as the most important marketing mix factor and the element with the highest mean score was the efficiency of drug in reducing the recurrence of the disease as well as reducing level of mortality, according to researches. For general internist respondents, they gave their first priority to the Short Acting Bronchodilators for their chronic obstructive pulmonary disease patients. They also rated product as the most important marketing mix factor and the element with the highest mean score was the efficiency of drug in reducing the recurrence of the disease as well as reducing level of mortality, according to researches. Results of the hypothesis testing at 0.05 level of significance by Chi-Square pointed out that the different groups of specialists were not correlated with the selection of medicine for chronic obstructive pulmonary disease patients. In the meanwhile, results of the hypothesis testing at 0.05 level of significance by T-test showed that at the 0.05 level of significance, difference between marketing mix factors were not observed.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อแพทย์โรคทางเดินหายใจ ในการเลือกยาในกลุ่มยารักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeMarketing mix affecting pulmonologists towards selecting medicine in chronic obstructive pulmonary disease drug groupen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashปอด – โรค – การรักษา-
thailis.controlvocab.thashปอดอุดกั้น – การรักษา-
thailis.controlvocab.thashการใช้ยา-
thailis.controlvocab.thashการรักษาด้วยยา-
thailis.controlvocab.thashวิจัยการตลาด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อแพทย์โรค ทางเดินหายใจในการเลือกสั่งยาในกลุ่มยารักษาโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง การศึกษาครั้งนี้ได้เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้การเก็บข้อมูลแบบเจาะจง (Specific Method) แพทย์ที่ทำงานอยู่ในโรงพยาบาลของ รัฐบาลและเอกชนในประเทศไทย ซึ่งเป็นผู้เกี่ยวข้องโดยตรงต่อการเลือกสั่งยาในกลุ่มยารักษาโรค ปอดอุดกั้นเรื้อรัง จากแบบสอบถาม และ ทำการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 267 คน และใช้การวิเคราะห์ข้อมูล โดยค่าทางสถิติ ได้แก่ การหาค่าอัตราร้อยละ มีรายงาน ตารางแจกแจง ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานของค่าลำดับความสำคัญของส่วน ประสมการตลาดที่มีผลต่อแพทย์โรคทางเดินหายใจในการเลือกยาในกลุ่มยารักษาโรคปอดอุดกั้น เรื้อรัง ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 36 - 40 ปี อยู่ใน โรงพยาบาลประจำจังหวัด เป็นแพทย์เฉพาะทางด้านอายุรแพทย์โรคระบบทางเดินหายใจ โดย โรงพยาบาลมีจำนวนเดียง 401 - 800 เตียง โดยมีจำนวนผู้ป่วยที่มารักษา และการจ่ายยาสูดพ่น โรค ปอดอุดกั้นเรื้อรังเฉลี่ย 11 - 50 รายต่อสัปดาห์ ซึ่งแพทย์จะทำการเลือกจ่ายยาทั้งสองประเภท คือ บัญชี ยาหลักแห่งชาติและไม่อยู่ในบัญชีหลักแห่งชาติ กลุ่มยาที่แพทย์เลือกใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคปอดอุด กั้นเรื้อรัง คือ Inhaled Corticosteroid (ICS) + Long Acting Beta 2 Agonist(LABA) จะใช้อุปกรณ์ นำส่งยาสูดพ่นในการรักษา ประเภท Metered Dose Inhaler (MDI) และลำดับความสำคัญในการ เลือกใช้ยารักษาผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ลำดับที่ 1 คือ Long Acing Muscarinic Antagonist (LAMA) ลำดับที่ 2 คือ Long Acting Muscarinic Antagonist (LAMA) + Long Acting Beta 2 Agonist (LABA) ลำดับที่ 3 คือ Inhaled Corticosteroid (ICS) + Long Acting Beta 2 Agonist (LABA) ลำดับที่ 4 คือ Triple Therapy (ICS + LABA + LAMA) ลำดับที่ 5 คือ Short Acting Bronchodilators ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามได้ให้ความสำคัญต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ให้ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสำคัญมาก 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และด้านช่องทางการจัด จำหน่าย ส่วนปัจจัยด้านส่งเสริมการตลาดให้ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสำคัญ โดยปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มี ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด โดยปัจจัยย่อยด้านผลิตภัณฑ์ที่มีระดับความสำคัญในลำดับแรก คือ ตัวยามี ประสิทธิภาพในการรักษา ลดการกำเริบของโรค และจากการวิจัยสามารถลดอัตราการเสียชีวิตได้ ปัจจัยย่อยด้านราคาที่มีระดับความสำกัญในลำดับแรก คือ ตัวยาอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ปัจจัยย่อย ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายที่มีระดับความสำคัญในลำดับแรก คือ ยาไม่ขาด ทำให้มียาใช้อย่าง ต่อเนื่อง ส่วนปัจจัยย่อยด้านส่งเสริมการตลาดที่มีระดับความสำคัญในลำดับแรก คือ ผู้แทนยามื ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และแนะนำวิธีการ ใช้อย่างถูกต้องและชัดเจน เมื่อจำเนกตามความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน พบว่า อายุรแพทย์โรคระบบทางเดินหายใจเลือกใช้ กลุ่มยาในการรักษาผู้ป่วยโรคปอคอุดกั้นเรื้อรังลำดับแรก คือ กลุ่มยา Long Acting Muscarinic Antagonist (LAMA) และ Inhaled Corticosteroid (ICS) + Long Acting Beta 2 Agonist (LABA) และ ให้ระดับความสำคัญปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดค้านผลิตภัณฑ์เป็นลำดับแรก และปัจจัยย่อยที่มี ค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับแรก คือ ตัวขามีประสิทธิภาพในการรักษา ลดการกำเริบของโรค และจากการวิจัย สามารถลดอัตราการเสียชีวิตได้ ส่วนอายุรแพทย์ทั่วไปเลือกใช้กลุ่มยาในการรักษาผู้ป่วยโรคปอดอุด กั้นเรื้อรังลำดับแรก คือ กลุ่มยา Short Acting Bronchodilators และให้ระดับความสำคัญปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาดค้านผลิตภัณฑ์เป็นลำคับแรก ส่วนปัจจัยย่อยที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในลำดับแรก คือ ตัว ยามีประสิทธิภาพในการรักษา ลดการกำเริบของโรค และจากการวิจัยสามารถลดอัตราการเสียชีวิตได้ ผลการทคสอบสมมุติฐาน ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 ด้วยสถิติ Chi-Square พบว่า แพทย์ที่มี ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ไม่มีความสัมพันธ์กันกับกลุ่มยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้น เรื้อรัง ส่วนผลการทดสอบสมมุติฐาน ณ ระดับนัยสำคัญ 0.05 ด้วยสถิติ T-test พบว่า ปัจจัยส่วน ประสมทางการตลาด โดยรวมไม่มีความแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.05en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532046 วินุรา ธิติไพศาล.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.