Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77763
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีสุวรรณ นฤนาทวงศ์สกุล-
dc.contributor.authorธนณัฏฐ์ เสนาวงค์en_US
dc.date.accessioned2022-10-29T05:24:10Z-
dc.date.available2022-10-29T05:24:10Z-
dc.date.issued2022-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/77763-
dc.description.abstractThe study aims to enhance the amount of resistant starch content in Purple Sweet Potato (PSP) starch. The effects of immersing in organic acid solution (citric acid and stearic acid), at 1 and 2% concentrations (w/v) for overnight in the pre-treatment process and numbers of heating and cooling processes (0-9 cycles) were studied in acid- immersed sample. The acid-treated experiment was designed in a 2 x 2 factorial experiment in CRD with 3 replications. Resistant starch (RS) estimated Glycemic Index (eGI), amylose content, pasting profiles, and scanning electron microscope (SEM) were used to observe the results of the experiment. Thermal properties, crystal structure , crystal morphology and retrogradation kinetics were also studied in heated and cooled sample. The result showed that the highest amount of resistant starch content (11.52 ± 8.9%) was achieved in sample treated with 2% citric acid which was higher than the control (2.59 ± 0.85%) around 344.78 %. But the estimated glycemic index was not significantly different. The amylose content, which is related to the enzymatic digestion ability of the starch, were not significantly different among treatments. Although PSP treated with 2% citric acid gave the highest level of RS but other properties such as estimated Glycemic index, amylose content and pasting profile were significantly lower than 1% stearic acid sample. Therefore, 1% stearic acid was used instead of 2% citric acid in the heating and cooling process study. After getting the condition of appropriate organic acid for immersion, heating and cooling cycles were used to enhance the RS content in PSP. The result showed that 1 cycle of the heating and cooling process gave the highest RS content (18.57 ± 9.47%) which was higher than the control sample of heating and cooling process (9.73 ± 2.62%) around 90.85 %. And SEM showed that the acid-immersed starch granules and the heated-cooled granule were denser packed than control. In thermal properties study, it was found that the gelatinization temperature of heated and cooled sample increased with the number of heating- cooling cycle, but the over heating -cooling process could lose the thermal properties by decreasing gelatinization temperature. The retrogradation kinetic study by Avrami equation found that the Avrami exponent of the samples were less than 1 indicated that the samples had a few changes in the particle structure. The retrogradation rate and Avrami exponent were not significantly different. That could indicate that several heating- cooling cycle did not affect the reaction rate and shape of particle. From this study, it could be suggested that the use of organic acid solution in a suitable concentration for the pre-treatment process and one cycle of the heating and cooling process could enhance the resistant starch content in PSP starch.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเพิ่มปริมาณสตาร์ชต้านทานการย่อยในแป้งมันเทศสีม่วงen_US
dc.title.alternativeEnhancing of resistant starch content in purple sweet potato (Ipomoea batatas) flouren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshมันเทศ-
thailis.controlvocab.lcshสตาร์ช-
thailis.controlvocab.lcshการย่อย-
thailis.controlvocab.thashเทคโนโลยีการผลิตอาหาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้ มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการเพิ่มปริมาณสตาร์ชต้านทานการย่อยในแป้งมันเทศสีม่วง (Ipomoea batatas) โดยศึกษาการแช่มันเทศในสารละลายกรด ได้แก่ กรดซิตริก และ กรดสเตียริก ที่ความเข้มข้น ร้อยละ 1 และ 2 โดยน้ำหนัก แช่มันเทศในสารละลายกรดด้วยอัตราส่วนมันเทศและสารละลายที่อัตราส่วน 1: 5 เป็นเวลา 1 คืน ซึ่งการทดลองดังกล่าวได้ออกแบบการทดลองในรูปแบบ 2 x 2 Factorial design ทั้งหมด 3 ซ้ำ รวมถึงการศึกษาผลของจำนวนรอบของการให้ความร้อนสลับความเย็นตั้งแต่ 0-9 รอบ ต่อการเพิ่มปริมาณสตาร์ชต้านทานการย่อย ซึ่งในการศึกษานี้ได้วัดปริมาณของสตาร์ชต้านทานการย่อย (Resistant Starch (RS)) ค่าดัชนีน้ำตาลโดยประมาณ (estimate Glycemic Index (eGI)) ปริมาณอะไมโลส สมบัติด้านความหนืดของสตาร์ชที่ผ่านการเตรียมด้วยกรดและให้ความร้อนสลับความเย็น และศึกษาสมบัติทางความร้อน ลักษณะโครงสร้างผลึก ลักษณะ ทางสัณฐาน และจลนพลศาสตร์การคืนตัวเพิ่มเติมในกลุ่มของตัวอย่างที่ให้ความร้อนสลับความเย็น พบว่า การใช้สารละลายกรดซิตริกความเข้มข้นร้อยละ 2 ให้ปริมาณสตาร์ชต้านทานการย่อยได้สูงที่สุด คือ ร้อยละ 11.52 ± 8.9 ซึ่งสูงกว่าตัวอย่างควบคุมที่มีร้อยละ 2.59 ± 0.85 ถึงร้อยละ 334.78 ในขณะที่ค่าดัชนีน้ำตาลโดยประมาณไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ การใช้สารละลายกรดสเตียริกความเข้มข้นร้อยละ 1 โดยน้ำหนัก ปริมาณอะไมโลสในตัวอย่างที่ผ่านการแช่สารละลายกรดไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตามตัวอย่างที่ผ่านการเตรียมด้วยสารละลายกรดสเตียริกความเข้มข้นร้อยละ 1 มีสมบัติโดยรวมเหมาะสมกว่าตัวอย่างที่ใช้กรดซิตริก ถึงแม้ว่าการใช้สารละลายกรดซิตริกความเข้มข้นร้อยละ 2 จะให้ปริมาณสตาร์ชต้านทานการย่อยที่สูง แต่ว่าคุณสมบัติ บางประการ เช่น ปริมาณค่าดัชนีน้ำตาล ปริมาณอะไมโลส และคุณสมบัติด้านความหนืด มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่าตัวอย่างที่ผ่านการเตรียมด้วยกรดสเตียริกที่ความเข้มข้นร้อยละ 1 ดังนั้น จึงเลือกการเตรียมตัวอย่างด้วยการแช่ในสารละลายกรดสเตียริกความเข้มข้นร้อยละ 1 โดยน้ำหนักในการศึกษาผลของจำนวนรอบการให้ความร้อนสลับความเย็น จากการศึกษาดังกล่าว พบว่า การให้ความร้อนสลับความเย็นเพียงหนึ่งครั้ง สามารถเพิ่มปริมาณสตาร์ชต้านทานการย่อยได้สูงถึงร้อยละ 18.57± 9.47 ซึ่งสูงกว่าตัวอย่างควบคุมที่มีปริมาณสตาร์ชต้านทานการย่อยเพียงร้อยละ 9.73 ± 2.62 ถึงร้อยละ 90.85 นอกจากนี้ การศึกษาสัณฐานของเม็ดสตาร์ชพบว่า สัณฐานของเม็ดสตาร์ช ที่ผ่านการเตรียมด้วยกรดจะมีการจับตัวที่แน่นกว่าตัวอย่างควบคุม และศึกษาตัวอย่างที่ผ่านกระบวนการให้ความร้อนสลับความเย็น พบว่า จำนวนรอบที่สูงขึ้น จะทำให้อนุภาคของเม็ดสตาร์ชมีการเกาะและหลอมรวมกันได้มากขึ้น และเมื่อศึกษาสมบัติทางความร้อน พบว่า จำนวนรอบที่สูงขึ้นจะทำให้อุณหภูมิการเกิดเจลาติไนซันของตัวอย่างเพิ่มขึ้น แต่เมื่อถึงจุดหนึ่ง ตัวอย่างจะมีอุณหภูมิการเกิดเจลาติไนเซชันลดลง นอกจากนี้ จากการศึกษาจลนพลศาสตร์ของการเกิดการคืนตัวโดยใช้สมการของ Avrami พบว่า ค่าคงที่ของ Avrami ในตัวอย่างที่ศึกษามีค่าน้อยกว่า 1 ซึ่งบ่งบอกว่าตัวอย่างมีการเปลี่ยนแปลงผลึกที่น้อยมาก และค่าคงที่ของอัตราการเกิดการคืนตัว และค่า Avrami exponent ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งการศึกษาดังกล่าว ทำให้ทราบว่าการใช้สารละลายกรดอินทรีย์ในการเตรียมตัวอย่าง และการให้ความร้อนสลับความเย็นหนึ่งครั้งในการเตรียมตัวอย่างสามารถเพิ่มปริมาณสตาร์ชต้านทานการย่อยได้en_US
Appears in Collections:AGRO: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611331003_THANANAT_SENAWONG.pdf3.48 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.