Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74182
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ แก้วโมราเจริญ-
dc.contributor.authorอาทิตยา ตาปันen_US
dc.date.accessioned2022-10-04T10:34:21Z-
dc.date.available2022-10-04T10:34:21Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74182-
dc.description.abstractThis research aims to study the problems within the design processes of a construction. These problems are delays in working time, increased costs and use of human resources; additionally, the drawings are not standardized and this can cause significant damage in the overall construction. In order to reduce the number of errors that oceur, the author of this study has used the BIM building information model and has applied it alongside the process of design, drawing in 2D and 3D and then used the data results in order to form a virtual building to be printed in 3D. Afterwards, analysis of the comparing factors of the software's worthiness, break-even point, time and that the construction standards are met, will be performed through the evaluation of the 3D printed model. The research results showed that when applying the BIM information model, there was a reduction to the total time spent regarding the design and drawing process and also resulted in a more accurate model. Furthermore, it is possible to apply the 3D fabrication data from the Autodesk Revit software in order to create a 3D virtual building model for the printer which is more eflicient than the current method(s). With a 3D model, the entire construct can be disassembled to reveal the details of the building's usable space with accordance to the construction standards. Additionally, a 3D printed model allows for us to check for consistency and accuracy within the construct. This method also saves time and human resources regarding creating a physical representation of the construct and removes the need of cutting and fitting individual pieces together during the model's assembly.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์วิศวกรรมคุณค่าของการประยุกต์ใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติร่วมกับแบบจำลองสารสนเทศอาคารระหว่างขั้นตอนการออกแบบและการก่อสร้างen_US
dc.title.alternativeValue Engineering Analysis of 3 Dimension Printer Application with Building Information Modeling Suring Design and Construction Phasesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้าง-
thailis.controlvocab.thashแบบจำลองสารสนเทศอาคาร-
thailis.controlvocab.thashแบบจำลองสามมิติ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดจากขั้นตอนกระบวนการออกแบบและเขียน แบบที่ส่งผลให้ระยะเวลาการทำงานเกิดความล่าช้า การสิ้นเปลืองต้นทุนและทรัพยากรบุคคล อีกทั้ง แบบก่อสร้างที่ไม่ได้มาตรฐานก่อให้เกิดความเสียหายในงานก่อสร้างอาคารของผู้รับเหมา เพื่อเป็น การลดปัญหาข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นผู้ทำการศึกษาจึงได้นำแบบจำลองสารสนเทศอาคาร BIM มา ประยุกต์ใช้ร่วมกับกระบวนการออกแบบก่อสร้าง การเขียนแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ จนกระทั่งการนำ ข้อมูลมาใช้ขึ้นรูปอาคารเสมือนจริง โดยเครื่องพรินเตอร์ 3 มิติ จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบ ความคุ้มค่า คุ้มทุน เวลาและมาตรฐานแบบก่อสร้าง รวมถึงกระบวนการพิมพ์งานอาคารเสมือนจริง โดยเครื่องพรินเตอร์ที่นำมาศึกษา ซึ่งผลงานวิจัยเบื้องต้นพบว่าเมื่อนำแบบจำลองสารสนเทศ BIM มา ประยุกต์ใช้ ทำให้ช่วยลดเวลาในขั้นตอนกระบวนการออกแบบและเขียนแบบก่อสร้างอาคารในการ ทำแบบก่อสร้างได้และทำให้แบบก่อสร้างมีความแม่นยำทุกต้อง อีกทั้งยังสามารถนำข้อมูลการขึ้น แบบ 3 มิติจากซอฟต์แวร์ Revit มาประยุกต์ในการขึ้นรูปอาคารเสมือนจริง 3 มิติ จากเครื่องพิมพ์ได้ ต่อเนื่องรวดเร็วกว่าปัจุบันและชิ้นงานสามารถถอดส่วนประกอบอาคารให้เห็นรายละเอียดของพื้นที่ ใช้สอยภายในอาคารได้ตามมาตรฐานถูกต้องตามแบบ และยังลดระยะเวลากับต้นทุนการใช้ทรัพยากร บุคคลเพื่อตัดขึ้นงานอาคารเสมือนจริงได้ตามที่คาดการณ์ไว้en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620632011 อาทิตยา ตาปัน.pdf5.24 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.