Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74168
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ อินทสิงห์-
dc.contributor.advisorศักดา สวาทะนันทน์-
dc.contributor.authorณัฐพล ไชยบัวแก้วen_US
dc.date.accessioned2022-10-01T04:29:03Z-
dc.date.available2022-10-01T04:29:03Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74168-
dc.description.abstractThis independent research aimed to compare problem-solving thinking ability after studying by using engineering design process in physics course of grade 9 students with the specified criteria, and to compare concepts in physics before and after studying by using the engineering design process of grade 9 students. Sample used in the study were 41 grade 9 students in the second semester of the academic year 2021. They were choosen by cluster sampling. The research tools used in the study consisted of 7 plans for learning provision using the engineering design process, problem-solving ability test, and concepts test in physics. Data was analyzed by averages, standard deviations, percentages, and t-test. The results showed that 1. The ability of students’ problem-solving thinking after studying by engineering design process was 78.60 percent, which was higher than the 60 percent threshold with statistically significant at .05 suggesting a good level. 2. After using engineering design process, the students’ concepts in physics was higher than before studying with statistically significant at .05.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและมโนทัศน์ในวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4en_US
dc.title.alternativeLearning provision using engineering design process to promote problem-solving thinking ability and concepts in physics of grade 9 studentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashฟิสิกส์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashฟิสิกส์ -- กิจกรรมการเรียนการสอน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดแก้ปัญหา หลังเรียนโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมในรายวิชาฟิสิกส์ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด และเพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ในวิชาฟิสิกส์ก่อนและหลังเรียนโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 จำนวน 41 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ได้มาโดยการเลือกแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม จำนวน 7 แผน แบบทดสอบความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และแบบทดสอบมโนทัศน์ในวิชาฟิสิกส์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และค่าสถิติที ผลการศึกษาพบว่า 1. ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนหลังเรียนโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม คิดเป็นร้อยละ 78.60 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05และอยู่ในเกณฑ์ระดับดี 2. มโนทัศน์ในวิชาฟิสิกส์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนโดยใช้กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.