Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิสัยศิษฎ์ ชัยจรีนนท์-
dc.contributor.authorธิวาพร มงคลแดงen_US
dc.date.accessioned2022-09-24T08:50:30Z-
dc.date.available2022-09-24T08:50:30Z-
dc.date.issued2021-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74150-
dc.description.abstractBackground: One major oral problem for Thai elderly patients is tooth loss, adversely affecting the quality of grinding and occlusion. Thus, wearing a complete denture to replace missing teeth is essential so that the patient can better use the denture to grind, talk, and improve their quality of life. Objectives: To investigate empirical evidence about denture quality factors affecting the oral-health-related quality of life (OHRQoL) of elderly with a conventional complete denture. Methods: This systematic review was conducted to search for related studies published between 2010 and 2020 from international data-bases, including PubMed, SCOPUS, Cochrane Library, Web of Science, and Sciencedirect. Two re-searchers independently conducted research by selecting research on denture quality factors affecting OHRQoL, critical appraisal of research, data extraction, and the narrative synthesis process. Results: Of all 699 studies obtained from the search, five studies were selected to include in this research. There were two retrospective cohort studies and three cross-sectional studies. The majority of studies were of short duration. Only one study provided 7-year evaluations. Conclusion: The denture quality factors affecting OHRQoL included maxillary and mandibular stability and retention, articulation, and esthetic.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคุณภาพฟันเทียมen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตen_US
dc.subjectการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบen_US
dc.subjectการยึดอยู่en_US
dc.subjectเสถียรภาพen_US
dc.subjectการรองรับen_US
dc.subjectการสบฟันen_US
dc.subjectการบดเคี้ยวen_US
dc.subjectความสวยงามของฟันเทียมen_US
dc.titleการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบของปัจจัยด้านคุณภาพฟันเทียมที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต ในมิติสุขภาพช่องปาก ในผู้สูงอายุที่ใส่ฟันเทียม ทั้งปากถอดได้ฐานพลาสติกen_US
dc.title.alternativeThe quality of denture influencing oral health related quality of life in complete denture wearing older adults: a systematic reviewen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashฟันปลอม-
thailis.controlvocab.thashสิ่งปลูกฝังเทียม-
thailis.controlvocab.thashทันตกรรมประดิษฐ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้เป็นการศึกษาประเภทการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ มีวัตถุประสงค์เพื่อหาหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับปัจจัยด้านคุณภาพฟันเทียมมีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุที่ใส่ฟันเทียมทั้งปากแบบถอดได้ฐานพลาสติกอย่างเป็นระบบ จากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ PubMed, SCOPUS, Cochrane library, Web of Science, Sciencedirect ตั้งแต่ พ.ศ. 2533 จนถึงเดือนตุลาคม พ.ศ.2563 การคัดเลือกงานวิจัย การประเมินความน่าเชื่อถือของบทความ และการสกัดข้อมูล กระทำโดยผู้วิจัยสองคนซึ่งทำงานอย่างเป็นอิสระต่อกัน และผ่านการปรับมาตรฐานกับอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก โดยค่าสถิติแคปปาที่ได้ คือ 0.8-1.00 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โมเดลการการสังเคราะห์แบบพรรณนาของ Popay J. และคณะ ในปี ค.ศ. 2006 ผลการสืบค้นข้อมูล พบงานวิจัยทั้งหมด 699 งานวิจัย นำงานวิจัยที่ซ้ำกันออกจำนวน 129 งานวิจัย นำมาคัดเลือกโดยพิจารณาจากชื่อเรื่องและบทคัดย่อ มีงานวิจัยที่ถูกคัดออกเนื่องจากไม่เข้าตามเกณฑ์การคัดเข้า จำนวน 501 งานวิจัย งานวิจัยที่ถูกนำไปสืบค้นงานวิจัยฉบับเต็ม (full-text articles) และคัดเลือกตามเกณฑ์การคัดเลือก จำนวน 69 งานวิจัย เมื่อพิจารณาตามเกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัยที่กำหนดไว้ มีงานวิจัยที่ผ่านการคัดเลือกและนำไปประเมินคุณภาพงานวิจัย จำนวน 6 ฉบับ จากผลการทบทวนวรรณกรรมครั้งนี้ พบว่าปัจจัยด้านฟันเทียมที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตในมิติสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุที่ใส่ฟันเทียมทั้งปากฐานพลาสติกแบบถอดได้ ได้แก่ ความเสถียรภาพของฟันเทียมบนและล่าง การยึดอยู่ของฟันเทียมบนและล่าง การกัดสบ การบดเคี้ยวและความสวยงาม จากหลักฐานเชิงประจักษ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าคุณภาพฟันเทียมนั้นมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ทันตแพทย์จึงควรสร้างฟันเทียมที่มีคุณภาพเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และถึงแม้ว่าทันตแพทย์ได้สร้างฟันเทียมที่มีคุณภาพให้ผู้ป่วยแล้ว เมื่อผู้ป่วยใช้งานฟันเทียมผ่านระยะเวลายาวนาน คุณภาพฟันเทียมอาจมีการเปลี่ยนแปลงถดถอยได้ ผู้ป่วยจึงควรได้รับการตรวจสอบคุณภาพฟันเทียมอย่างสม่ำเสมอen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620931048_ธิวาพร มงคลแดง.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.