Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74143
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวุฒิ ตั้งสมชัย-
dc.contributor.authorกรัษนัย ใบเต้en_US
dc.date.accessioned2022-09-24T07:15:04Z-
dc.date.available2022-09-24T07:15:04Z-
dc.date.issued2021-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74143-
dc.description.abstractThe objective of this independent study is to determine the impact of macroeconomic factors on term structure of interest rates in Thai bond market using adjusted Svensson model. Government yield curve and macroeconomic factors; namely inflation rate, policy rate and public debt rate are used in the study. The period of study extends from January 2010 to December 2019. The study is divided into two parts. The first part deals with comparison study of forecasting ability of adjusted Svensson model, Nelson-Siegel model and Svensson model to forecast the term structure of interest rate. The second part studies how to increase the efficiency to forecast a term structure of interest rate, using adjusted Svensson model. This is attained by adding macroeconomic factors to simulate time series model or VAR model. The result suggests that each model is able to accurately predict the term structure of interest rate only in certain periods of remaining time. The adjusted Svensson model, for example, is capable of doing so in the period of seven to ten years remaining time. Whereas, the Nelson-Siegel model accurately predicts in the period of remaining one month to one year and Svensson model is effective in prediction for the period of remaining two to six years. Adding macroeconomic factors to VAR model reveals that integrating inflation rate into VAR model can enhance the efficiency of the adjusted Svensson model so it can better forecast the term structure within the period of remaining one month to one year. Addition of public debt rate to VAR model, on the other hand, enables adjusted Svensson model to effectively predict the term structure with two to ten years maturity. However, policy rate plays no role in enhancing the prediction of term structure of interest rate.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของปัจจัยเศรษฐศาสตร์มหภาคต่อโครงสร้างอัตราดอกเบี้ย ในตลาดตราสารหนี้ไทยตามแบบจำลองสเวนส์สันหลังปรับปรุงen_US
dc.title.alternativeImpact of macroeconomic factors on term structure of interest rates in Thai bond market using adjusted Svensson modelen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashดอกเบี้ย-
thailis.controlvocab.thashอัตราดอกเบี้ย-
thailis.controlvocab.thashตราสารหนี้-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของปัจจัยเศรษฐศาสตร์มหภาคต่อ โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยในตลาดตราสารหนี้ไทยตามแบบจำลองสเวนส์สันหลังปรับปรุงโดย การศึกษาได้ใช้ข้อมูล โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยในตลาดตราสารหนี้ของประเทศไทย และปัจจัย เศรษฐศาสตร์มหภาคซึ่งได้แก่ อัตราเงินเฟ้อ อัตราดอกเบี้ยนโยบาย และอัตราหนี้สาธารณะ ครอบกลุม ช่วงเวลาตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2533 ถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562 โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การศึกษาเปรียบเทียบความสามารถการพยากรณ์ โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยระหว่างโมเดลส เวนส์สันหลังปรับปรุง โมเดล Nelson-Sicgel และ โมเดล Svensson และศึกษาเพิ่มประสิทธิภาพการ พยากรณ์ โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยในโมเดลสเวนส์สันหลังปรับปรุงโดยนำปัจจัยเศรษฐศาสตร์มห ภาค เพิ่มลงในแบบจำลองอนุกรมเวลาคือ แบบจำลอง VAR โดยทั้งสองการศึกษาจะใช้วิธีการทดสอบ แบบจำลองข้อมูลในตัวอย่างที่ใช้สร้างแบบจำลอง และใช้วิธีการทดสอบพยากรณ์ ข้อมูลนอกตัวอย่าง ที่ใช้สร้างแบบจำลอง และใช้วิธีคำนวณค่าความคลาดเคลื่อนเฉลี่ยกำลังสอง เพื่อวัดความแม่นยำใน การพยากรณ์ โครงสร้างอัตราดอกเบี้ย ผลการศึกษาพบว่าโมเดลแต่ละประเภทจะมีความสามารถพยากรณ์โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยได้ ดีในแค่บางช่วงอายุคงเหลือเท่านั้น เช่นโมเดลสเวนส์สันหลังปรับปรุง สามารถพยากรณ์โครงสร้าง อัตราดอกเบี้ยได้ดีในช่วงอายุคงเหลือระยะ 7 ปีถึง 10 ปี โมเดล Nelson-Siegel จะสามารถพยากรณ์ โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยได้ดีในช่วงอายุคงเหลือระยะ 1 เดือนถึง 1 ปี และโมเคล Svensson จะสามารถ พยากรณ์ โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยได้ดีในช่วงอายุคงเหลือระยะ 2 ปีถึง 6 ปี เมื่อมีการเพิ่มปัจจัย เศรษฐศาสตร์มหภาคลงในแบบจำลอง VAR พบว่า การเพิ่มอัตราเงินเฟ้อลงในแบบจำลอง VAR จะ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้โมเดลสเวนส์สันหลังปรับปรุง พยากรณ์ โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยได้ดีในช่วง อายุคงเหลือระยะ 1 เดือนถึง 1 ปี และ การเพิ่มอัตราหนี้สาธารณะลงในแบบจำลอง VAR จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพให้โมเดลสเวนส์สันหลังปรับปรุง พยากรณ์ โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยได้ดีในช่วงอายุคงเหลือระยะ 2 ปีถึง 10 ปี แต่อัตราดอกเบี้ย นโยบายไม่สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการพยากรณ์ โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532189 กรัษนัย ใบเต้.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.