Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74142
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิสุทธร จิตอารี-
dc.contributor.authorพิชญ์ปวี ชูภาระen_US
dc.date.accessioned2022-09-24T07:07:12Z-
dc.date.available2022-09-24T07:07:12Z-
dc.date.issued2021-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74142-
dc.description.abstractThis independent study aimed to study the marketing feasibility on a health food restaurant in Mueang Chiang Mai district in the light of the continual growth trend on healthy food restaurant business along with the consumer behavior that paid more concerns on health and healthy food. In this study, marketing strategies were determined by analyses on healthy food restaurant’s business environment, business competition in terms of strength; weakness; opportunity; and threats, consumer behaviour, and marketing mix affecting to decision making towards using services from healthy food restaurant. Data were obtained from questionnaires distributed to 406 consumers of healthy food restaurants in Mueang Chiang Mai district as well as in-depth interview with 5 entrepreneurs. Based upon the studying results, details of the 4 marketing strategies that could be determined for the studied business were presented as follows. 1) In the Strength and Opportunity (SO) Strategy, the studied business should offer variety of menu choices, especially for online distribution channel; and participate in state campaigns that allowed the customers to apply their rights with. 2) In the Weakness and Opportunity (WO) Strategy, the studied business should create consumer awareness for the products in a sense that it was worthwhile to consume in comparing to the food values gained; andbe available on various online platforms. 3) In the Strength and Threat (ST) Strategy, the studied business should create differentiation by using safe and good quality of raw materials and ingredients for health. 4) In Weakness and Threat (WT) Strategy, the studied business should maintain its quality standards, especially for the raw materials, the food taste, and the service. The main targeted group was working-aged consumers in the ages of 31-40 years old who concerned on their health; but did not have time or were not convenient to cook. The results suggested that market positioning of this healthy food restaurant was to use safe raw materials and maintain natural values of food as much as possible. Thus, the marketing mix strategies should include using organic and nontoxic vegetables and good quality of ingredients for health as the main raw materials; focusing on cleanliness, good taste without monosodium glutamate; and presenting nutrition facts for every menu choice. Pricing should be ranged from 50-950 Baht for onsite and on-site distribution channels. Food delivery should be applicable for consumers living within 10 kilometer-distance from the restaurant. The restaurant should open daily from 10.00 hrs – 22.00 hrs. Communication and advertisement should be performed through both online and off-line channels. Regarding the staff management, the staff should be recruited appropriately; the job descriptions should be clearly determined; and the manager should be the one who supervised the restaurant’s operation and management. The restaurant should be decorated with Minimal style with big shade trees and always keep its premise clean and tidy. Food processing and rapid services should be highlighted in order to impress the consumers. Regarding the analysis on action plan, the results suggested that in year 1, the sale forecast was 3,285,000 Baht and the Net Profit Margin was 19.20%with good liquidity and positive cash flow. Consequently, it could assume that this marketing plan was feasible to be operated.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาดของธุรกิจร้านอาหาร เพื่อสุขภาพในตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeA marketing feasibility study on a healthy food restaurant in Mueang Chiang Mai districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashอาหาร-
thailis.controlvocab.thashร้านอาหาร-
thailis.controlvocab.thashการจัดการร้านอาหาร-
thailis.controlvocab.thashการจัดการตลาด-
thailis.controlvocab.thashการตลาด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระเรื่องการศึกษาความเป็นไปได้ทางการตลาดของธุรกิจร้านอาหารเพื่อ สุขภาพ ในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความเป็นไปได้ทางการด้าน ตลาดของธุรกิจร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เนื่องจากแนวโน้มการเติบโต อย่างต่อเนื่องของธุรกิจร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ประกอบกับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ให้ความสำคัญ ต่อสุขภาพและการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์มากขึ้น โดยการศึกษานี้ ได้กำหนดกลยุทธ์ทาง การตลาดจากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของธุรกิจร้านอาหารเพื่อสุขภาพ สภาพการแข่งขันของ ธุรกิจ ด้านจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคของธุรกิจ พฤติกรรมของผู้บริโภค และปัจจัยส่วน ประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารเพื่อสุขภาพ โดยใช้แบบสอบถามเก็บ รวบรวมข้อมูลจากผู้บริโภคที่เคยใช้บริการร้านอาหารเพื่อสุขภาพในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 406 คน และการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ประกอบการ จำนวน 5 คน ผลการศึกษา สามารถกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดได้ 4 กลยุทธ์ ประกอบด้วย กลยุทธ์เชิง รุก ได้แก่การเพิ่มความหลากหลายของเมนู โดยเฉพาะที่จำหน่ายในช่องทางออนไลน์ และการเข้าร่วม โครงการที่ให้ผู้บริโภคสามารถใช้สิทธิ์ที่ได้รับจากรัฐบาลได้ 2 กลยุทธ์เชิงแก้ไข ได้แก่ การสร้างการ รับรู้แก่ผู้บริโภคเพื่อให้เกิดความรู้สึกคุ้มค่าเมื่อเปรียบเทียบกับคุณค่าที่ได้รับและการใช้สื่อสังคม ออนไลน์ที่หลากหลายแพลตฟอร์ม 3) กลยุทธ์เชิงป้องกัน ได้แก่การสร้างความแตกต่างโดยใช้วัตถุดิบ ที่ปลอดภัยและเครื่องปรุงที่ดีต่อสุขภาพ และ 4 กลยุทธ์เชิงรับได้แก่ การรักษามาตรฐานของคุณภาพ วัตถุดิบ รสชาติของอาหารและมาตรฐานการให้บริการ กลุ่มเป้าหมายหลักคือกลุ่มผู้บริโภควัยทำงาน ที่มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ที่ต้องการดูแลตัวเอง ไม่มีเวลาทำอาหารเอง หรือไม่สะดวกต่อการทำอาหาร กำหนดตำแหน่งทางการตลาดของร้านอาหาร เพื่อสุขภาพโดยใช้เกณฑ์ด้านปลอดภัยของวัตถุดิบและการรักษาคุณค่าทางธรรมชาติไว้ให้มากที่สุด ดังนั้นกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดจึงประกอบด้วย การใช้ผักออร์แกนิค ผักปลอดสารพิษและ เครื่องปรุงที่ดีต่อสุขภาพเป็นวัตถุดิบหลัก เน้นความสะอาด รสชาติอร่อยโดยไม่ใช้ผงชูรส และมีการ จัดทำโภชนาการอาหารประกอบทุกเมนู กำหนดราคาตั้งแต่ 50 - 950 บาท ขึ้นอยู่กับเมนูอาหาร จำหน่ายทางออนไลน์และหน้าร้าน โดยมีบริการส่งอาหารถึงที่ให้กับลูกค้าที่อยู่ในพื้นที่ 10 กิโลเมตร เปิดให้บริการทุกวันตั้งแต่เวลา 10.00 น. - 22.00 น. สื่อสารและโฆษณาผ่านช่องทางออนไลน์และ ออฟไลน์ การจัดการพนักงานมีการคัดเลือกอย่างเหมาะสมและระบุหน้าที่อย่างชัดเจน โดยมีผู้จัดการ ร้านควบคุมดูแล ตกแต่งร้านสไตล์มินิมอล ปลูกต้นไม้ใหญ่สร้างความร่มรื่น รักษาความสะอาดและ ความมีระเบียบเรียบร้อยภายในร้านอยู่เสมอ ให้ความสำคัญต่อกระบวนการผลิตอาหารและการบริการ ที่รวดเร็ว เพื่อสร้างความประทับใจ ผลการวิเคราะห์แผนปฏิบัติการ พบว่าในปีที่ 1 ประมาณการยอดขาย เท่ากับ 3,285,000 บาท อัตรากำไรสุทธิเท่ากับร้อยละ 19.20 มีสภาพคล่องที่ดีโดยมีกระแสเงินสดเป็นบวก จึงสรุปได้ว่า แผนการตลาดนี้มีความเป็นไปในในการดำเนินการen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532185 พิชญ์ปวี ชูภาระ.pdf2 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.