Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74139
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวี ลงกานี-
dc.contributor.authorหนึ่งฤทัย เฟื้องแปงen_US
dc.date.accessioned2022-09-24T04:27:18Z-
dc.date.available2022-09-24T04:27:18Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74139-
dc.description.abstractThe objective of this study is to allocate investment assets and to compare a performance among risk parity portfolio, naive risk parity portfolio, and Markowitz minimum variance portfolio. The 3 portfolios consist of SET 100 stock, property funds, gold, corporate bonds with credit rating at least BBB+, and government bonds. The research divides study period into three sub-period as follows; the first investment period (April 1st, 2009to April 2nd, 2019), the second investment period (April 1st, 2009to April to April 1st, 2014), and the third investment period (April 2nd, 2014to April 2nd, 2019). The three portfolios are evaluated using six performance measurements; 1) rate of returns, 2) risks, 3) financial performances, 4) diversification, 5) investment concentration, and 6) turnover ratio. Results show that risk parity portfolio yields higher non risk-adjusted returns than that of naive risk parity portfolio and Markowitz minimum variance portfolio. However, when portfolios are measured using risk-adjusted returns, the returns of risk parity portfolio do not higher than the two portfolios, in all periods. In addition, this research finds that risk parity portfolio has less rebalancing frequency leading to cost saving of financial transactions.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของกลุ่มหลักทรัพย์ที่กำหนดให้ความเสี่ยงของสินทรัพย์ลงทุนอยู่ในระดับที่เท่ากัน และกลุ่มหลักทรัพย์แบบดั้งเดิมen_US
dc.title.alternativeComparison of performance between risk parity portfolio and traditional portfolioen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์การลงทุน-
thailis.controlvocab.thashการลงทุน-
thailis.controlvocab.thashหลักทรัพย์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเ์พื่อจัดสรรสินทรัพย์ลงทุนและเปรียบเทียบผลการดำเนินงานของกลุ่มหลักทรัพย์ที่กำหนดให้ความเสี่ยงของสินทรัพยล์งทุนออยู่นระดับที่เท่ากัน กลุ่มหลักทรัพย์แบบง่ายและกลุ่มหลักทรัพย์ตามทฤษฎีผลตอบแทนความเสี่ยงของ Markowitz กลุ่มหลักทรัพย์ลงทุนทั้ง 3 มีองค์ประกอบ ได้แก่ หลักทรัพย์SET 100 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ทองคำแท่ง ตราสารหนี้ภาคเอกชนที่มีอันดับความน่าเชื่อถือระดับ BBB+up พันธบัตรรัฐบาล การศึกษาแบ่งช่วงระยะเวลาทดสอบออกเป็ น 3 ช่วง ช่วงระยะเวลาลงทุนที่1 (ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2552 ถึงวันที่ 2 เมายน พ.ศ. 2562) ช่วงระยะเวลาลงทุนที่2 (ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2552 ถึง วันที่ 1 เมายน พ.ศ.2557) ช่วงระยะเวลาลงทุนที่ 3 (ตั้งแต่วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2557 ถึง วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2562) สำหรับการประเมินประสิทธิภาพของการลงทุนทั้ง 3 กลุ่มหลักทรัพย์ทำโดยการวัด 1) อัตราผลตอบแทน 2) ความเสี่ยง 3) ประสิทธิภาพทางการเงิน 4)การกระจายความเสี่ยง 5)การกระจุกตัวของการลงทุน และ 6)อัตราการหมุนเวียนผลการศึกษาพบว่ากลุ่มหลักทรัพย์ที่กำหนดให้ความเสี่ยงของสินทรัพย์ลงทุนอยู่ในระดับที่เท่ากัน ให้ผลตอบแทนที่ไม่ได้ปรับความเสี่ยงสูงกว่ากลุ่มหลักทรัพย์แบบง่ายกลุ่มหลักทรัพย์ ตามทฤษฎีผลตอบแทนความ เสี่ยงของ Markowitz แต่เมื่อได้วัดผลตอบแทนปรับค่าความเสี่ยงประสิทธิภาพของกลุ่มหลักทรัพ์ที่กำหนดให้ความเสี่ยงของสินทรัพย์ลงทุนอยู่ในระดับที่เท่ากันไม่ได้เหนือกว่ากลุ่มอีก 2 ประเภททุกช่วงเวลา และยังพบว่านอกจากนี้กลุ่มหลกัทรัพย์ที่กำหนดให้ความเสี่ยงของสินทรัพย์ลงทุนอยู่ในระดับที่เท่ากัน ใช้ความถี่ในการปรับปรุงที่ต่างส่งผลให้เกิดการประหยดัต่อค่าใช้จ่ายในการดำเนินธุรกรรมทางการเงินen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532232 หนึ่งฤทัย เฟื้องแปง.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.