Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาติชาย เขียวงามดี-
dc.contributor.advisorรสริน โอสถานันต์กุล-
dc.contributor.authorวันทนีย์ รุ่งเรืองวัฒนกูลen_US
dc.date.accessioned2022-09-22T00:47:59Z-
dc.date.available2022-09-22T00:47:59Z-
dc.date.issued2022-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74127-
dc.description.abstractThe aims of this study include valuation of willingness to pay (WTP) for PM2.5 reduction in Chiang Mai, Thailand by using Contingent Valuation Method (CVM) and study of the factors influencing WTP supporing the project to reduce PM2.5 and its impacts. This study has assessed the valuation of WTP by using the Tobit Model with method of Maximum Likelihood Estimation (MLE) by collecting data from online qustionnaire of totally 405 respondents who living or working in Chiang Mai affected by PM2.5 using criteria in randoms the groups of samples. The study revealed that the average of WTP of sampling group is 203.8871 baht per person per year. Factors significantly determined the WTP of sampling group consists of gender, age, income level, history of illness respiratory diseases, period of residence in the area and attitudes of impact on air pollution level. The outcome of this study can be utilized in designing budget for improving of air quality and reducing PM2.5 in Chiang Mai.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความเต็มใจจ่ายen_US
dc.subjectPM 2.5en_US
dc.subjectปัญหามลพิษทางอากาศen_US
dc.subjectหมอกควันภาคเหนือen_US
dc.titleการศึกษาความเต็มใจจ่ายเพื่อลดปัญหามลพิษทางอากาศ จากฝุ่น PM 2.5 ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeA Study on willingness to pay for air pollution (PM 2.5) reduction in Chiang Mai Province areaen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมลพิษทางอากาศ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashฝุ่น -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมฝุ่น -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระฉบับนี้มีความมุ่งหมาย คือ เพื่อประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายต่อการลดหรือแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศจากฝุ่น PM2.5 ของประชาชนในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยเทคนิคการสมมติเหตุการณ์ให้ประเมินมูลค่าหรือ Contingent Valuation Method (CVM) รวมถึงได้ศึกษาปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจจ่ายเพื่อสนับสนุนโครงการเพื่อลดปัญหามลพิษทางอากาศจากฝุ่น PM2.5 การศึกษาครั้งนี้ประเมินค่าโดยแบบจำลอง Tobit Model จากการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์ จำนวน 405 ตัวอย่าง จากกลุ่มตัวอย่างที่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และได้รับผลกระทบจากปัญหามลพิษทางอากาศจากฝุ่น PM2.5 ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยความเต็มใจจ่าย (mean WTP) ของกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 203.8871 บาทต่อคนต่อปี สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดความเต็มใจจ่ายของกลุ่มตัวอย่างอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เพศ, อายุ, ระดับรายได้, ประวัติการเจ็บป่วยเป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ, ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่, ทัศนคติต่อระดับผลกระทบจากระดับมลพิษทางอากาศ ผลที่ได้จากการศึกษานี้สามารถประเมินงบประมาณให้เพียงพอกับการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศจากฝุ่น PM 2.5 ในจังหวัดเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621632014_Wantanee_Rungruangwattanakul.pdfA Study on Willingness to Pay for Air Pollution (PM 2.5) Reduction in Chiang Mai Province Area4.02 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.