Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74106
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิกานต์ ศรีนารา-
dc.contributor.authorกรรนิการ์ โพธิสิทธิ์en_US
dc.date.accessioned2022-09-18T03:35:54Z-
dc.date.available2022-09-18T03:35:54Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74106-
dc.description.abstractThis thesis attempts to look at the four-decade years of Thai society, between 1927 and 1956, from an emotional point of view and a cultural perspective. Specifically, it tries to look through how this context, of the factors-especially the socio-culture, that is the most important, leads significantly to an emotional change. From this point, Film industry growing sharply these times reflexes how Thai middle class expressed their emotion and resisted it from an upper. In this sense, a number of emotions were considerably mentioned in this area. However, this thesis will concentrate on three of them due to frequently in films, magazines, the media, and advertisements. –it consists of angriness, romantic love, and sadness. In this reason, these emotions that people mentioned are both the process of socialization from an elite and the resistance of the middle class. In a meanwhile, a new emotional regime is as slightly likely to generate its own definition and meaning as the others.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleอารมณ์ความรู้สึกกับความเปลี่ยนแปลงทางชนชั้น เพศสภาพ และ วัฒนธรรมการบริโภค ใน “อุตสาหกรรมภาพยนตร์” ของสยาม พ.ศ. 2470-2499en_US
dc.title.alternativeEmotion and the transformation of class, gender and consumer culture in Siamese “film industries”, 1927-1956transformation of class, gender and consumer culture in siamese “film industries”, 1927-1956en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashภาพยนตร์-
thailis.controlvocab.thashการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในภาพยนตร์-
thailis.controlvocab.thashภาพยนตร์กับประวัติศาสตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเปลี่ยนแปลงอารมณ์ความรู้สึกของผู้คนในสังคมเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงบริบททางสังคม ช่วงเวลาการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ไปจนถึงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นช่วงเวลาสำคัญ แห่งการเปลี่ยนผ่านบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม ย่อมส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึกของผู้คนใน สังคม เกิดการต่อต้านระบบระเบียบที่เคยเป็นกรอบเกณฑ์ในการแสดงความรู้สึกของผู้คนในสังคมโดยมี อุตสาหกรรมภาพยนตร์เป็นเครื่องมือในการแสดงออกซึ่งความรู้สึกในช่วงเวลาที่สังคมไทยกำลังเปลี่ยน ผ่าน อารมณ์ความรู้สึกในอุตสาหกรรมภาพยนตร์มีมากมากหลากหลาย แต่งานวิทยานิพนธ์ชิ้นนี้ได้ เลือกอธิบาย 3 อารมณ์ ได้แก่ ความโกรธ ความรัก และความศร้า ซึ่งเป็นอารมณ์ความรู้สึกที่ปรากฏชัด ที่สุด ทั้งในฟีล์มภาพยนตร์ นิตยสารภาพยนตร์ เพลงประกอบ และสินค้าโฆษณาที่มาพร้อมกับวัฒนธรรม สื่อเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นทั้งกรอบเกณฑ์การควบคุมความรู้สึกแบบชนชั้นสูง และการต่อต้านด้วยการ แสดงออกซึ่งความรู้สึกอย่างลึกซึ้งรุนแรง โดยชนชั้นกลางที่เกิดขึ้นจำนวนมาก ในขณะเดียวกันก็ได้สร้าง ระบอบความรู้สึกขึ้นใหม่en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590131004 กรรนิการ์ โพธิสิทธิ์.pdf8.71 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.