Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74096
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิติมา ดิศกุลเนติวิทย์-
dc.contributor.authorณัฐณิชา เทอดเทียนวงษ์en_US
dc.date.accessioned2022-09-17T05:41:02Z-
dc.date.available2022-09-17T05:41:02Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74096-
dc.description.abstractThe independent study is aimed to study the internal control and assessment of the appropriateness of the internal control agricultural cooperatives in Lampang Province totally of 13 Cooperatives in all 8 activities, namely Finance and Accounting, Loan Business, Procurement and Distribution Business, Business Deposits, investment in Securities, Property, plant and Equipment, Lenders, and Member and Share Capital Data were collected by questionnaire from Board of directors, auditors, and personnel management totally 311 people. This study used the framework related to the components of control element from COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission). The study show that agricultural cooperatives had sufficient internal control. This is consistent with COSO all five components: control environment, risk assessment, control actives, information and communication, and monitoring and evaluation. The level of opinion towards the internal control system in all activities of the cooperatives was at a high level. In the opinion of the Board of Directors, the internal control are at the highest level in terms of control activities and information and communication and to a large extent in the control environment risk assessment and monitoring and evaluation, while the auditor’s opinions on internal control were at the highest level in 4 aspects except the control environment at a high level. In addition, the personnel management have opinions on the internal control at a high level in every aspect.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินการควบคุมภายในของสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeInternal control evaluation of agricultural cooperatives in Lampang provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการควบคุมภายใน-
thailis.controlvocab.thashการตรวจสอบภายใน-
thailis.controlvocab.thashสหกรณ์การเกษตร -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการควบคุมภายในและประเมินความเหมาะสมของการควบคุมภายในของสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดลำปาง จำนวน 13 สหกรณ์ ในด้านต่างๆ ทั้ง 8 กิจกรรม ได้แก่ ด้านการเงินและการบัญชี ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจจัดหาและจัดจำหน่าย ธุรกิจเงินรับฝาก เงินลงทุนในหลักทรัพย์ อาคารและอุปกรณ์ เจ้าหนี้ เงินกู้สมาชิก และทุนเรือนหุ้น โดยใช้แบบสอบถามจากประชากรซึ่งได้แก่ คณะกรรมการ ผู้สอบบัญชี และบุคลากรฝ่ายจัดการของสหกรณ์ รวมจำนวน 311 คน โดยใช้แนวคิดจากองค์ประกอบการควบคุมภายในของ COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission) ผลการศึกษาพบว่า สหกรณ์การเกษตรจังหวัดลำปางมีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับแนวคิดของ COSO ทั้ง 5 ด้าน อันได้แก่ สภาพแวดล้อมของการควบคุม การประเมิน ความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม สารสนเทศและการสื่อสารในองค์กร การติดตามและประเมินผล ระดับความคิดเห็นต่อระบบการควบคุมภายในทุกกิจกรรมของสหกรณ์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยในมุมมองของคณะกรรมการมีความคิดเห็นต่อการควบคุมภายในระดับมากที่สุดในด้าน กิจกรรมการควบคุม และสารสนเทศและการสื่อสาร และในระดับมากในด้านสภาพแวดล้อมของการควบคุม การประเมินความเสี่ยง และการติดตามและประเมินผล ในขณะที่ผู้สอบบัญชีมีความคิดเห็นต่อการควบคุมภายในระดับมากที่สุด 4 ด้าน ยกเว้นสถาพแวดล้อมของการควบคุมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้ทั้งนั้นในส่วนของบุคลากรฝ่ายจัดการมีความคิดเห็นต่อการควบคุมภายในระดับมากทุกด้านen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.