Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74094
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธิกานต์ ศรีนารา-
dc.contributor.authorชณิกา กาวิชัยen_US
dc.date.accessioned2022-09-14T01:22:31Z-
dc.date.available2022-09-14T01:22:31Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74094-
dc.description.abstractThai society in the 1990s - the 2000s was a dramatical period in economic, politic, and culture. It is leading to transform the concept of female ghosts and non-humans in novels at these times. In this sense, this change can be inferred to a number of Thai novels after the 1990s try to adapt a new particular style of writings - for example settings, characters and also problematic issues - in the novels. this thesis aims to study the phenomenon mentioned from above through some of Thai literatures. According to their reputation, Buang, Prai Prathana and Nangchada are one of the most appropriate novels which can represent this concept. As a result of that, this thesis found there are more several ghost characters than humans and trend to be female ghosts and non-humans who are a victim of crime. resulting in anger want to reclaim justice to themselves. In addition, female ghosts and non-humans during this period also are from many classes, careers, and cultures. The phenomenon may have been caused by an increase in socio-economic problems such as class, crime, and justice, etc. Therefore, the middle class has turned to focus on basic Buddhist morality. However, according to the case study, it found that some characters in the case study must behave within the framework of good morals and ethics in order to be successful. On the other hand, some who behave contrastingly tend to have bad endings providing that they are not remorseful. In this point, there are another level of moralities. ghosts and non-humans in the case study do not use their power to act beyond that moral framework. This feature continues to be reproduced today.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปลี่ยนแปลงความคิดเกี่ยวกับผีและอมนุษย์ผู้หญิง ในนวนิยายไทยระหว่างทศวรรษ 2530-2550en_US
dc.title.alternativeChanging Thoughts About Female Ghosts and Non-humans in Thai Novels Between the 1990's-2000'sen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashนวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์-
thailis.controlvocab.thashสตรีในวรรณกรรม-
thailis.controlvocab.thashผี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการเปลี่ยนแปลงความคิดเกี่ยวกับผีและอมนุษย์ผู้หญิงในนวนิยายไทยระหว่างทศวรรษ 2530-2550 อันเป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงบริบททางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ส่งผลให้นวนิยายประเภทดังกล่าวมีการปรับเปลี่ยน โดยฉพาะนฉาก ตัวละคร และปมปัญหาที่ปรากฎในนวนิยาย สำหรับวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มุ่งศึกษาปรากฏการณ์ข้างต้นผ่านวรรณกรรมไทยประเภทนวนิยายเป็นสำคัญ โดยเลือกนวนิยายสามเล่ม คือ บ่วง พรายปรารถนา และนางชฎา โดยสาเหตุที่เลือกนวนิยายทั้งสามเล่มนี้มาเป็นตัวแทนของแต่ละทศวรรม สืบเนื่องมาจากนักเขียนนวนิยายทั้งสามเล่มเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงและมีผู้อ่านติดตามผลงานเป็นจำนวนมาก รามทั้งนวนิายทั้งสามเล่มล้วนได้รับความนิยมจากผู้อ่านในช่วงเวลาดังกล่าว จำนวนตัวละครผี มีมากกว่าอมนุษย์ และเริ่มปรากฏผีและอมนุษย์ผู้หญิงที่ตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม ส่งผลให้เกิดความโกรธแค้น ต้องการคืนความยุดิธรรมให้แก่ตนเองนอกจากนี้ผีและอมนุษย์ผู้หญิงในช่วงเวลานี้มาจากหลายชนชั้น อาชีพ และวัฒนธรรมอีกด้วยปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นข้างต้นคือภาพสะท้อนของปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคม เช่นชนชั้น อาชญากรรม และกระบวนการยุติธรรม เป็นต้น ดังนั้นชนชั้นกลางจึงหันไปพึ่งหลักธรรมทางพุทธศาสนา โดยส่วนมากจะให้ความสำคัญกับศีลธรรมขั้นพื้นฐาน สำหรับในนวนิยายกลับพบว่าตัวละครในนวนิยายต้องประพฤติตนอยู่ในกรอบของศีลธรรมและจริยธรรมอันดีจึงจะประสบความสำเร็จ ในขณะที่ตัวละครที่ประพฤติตนละเมิดกรอบของศีลธรรมและจริยธรรมอันดีมักจะพบกับจุดจบที่ไม่ตี หากไม่สำนึกผิด อย่างไรก็ดามในโลกของคนตายก็ยังมีศีลธรรมกำกับไว้อีกขั้นหนึ่ง ซึ่งผีและอมนุษข์ผู้หญิงในนวนิชายก็ไม่ใช้อำนาจกระทำเกินเลยไปกว่ากรอบของศีลธรรมนั้นลักษณะดังกล่าวนี้ยังคงผลิตซ้ำเรื่อยมาจนถึงปัจจุบันen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590131008 ชณิกา กาวิชัย.pdf4.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.