Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74053
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุษณีย์ จินตะเวช-
dc.contributor.advisorเนตรทอง นามพรม-
dc.contributor.authorกาญจนาภา ศุภบูรณ์en_US
dc.date.accessioned2022-09-01T16:52:50Z-
dc.date.available2022-09-01T16:52:50Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74053-
dc.description.abstractBronchopulmonary Dysplasia is a chronic disease that requires continuous treatment. Caregivers play an important role in care management to decrease the complications of the disease. The objectives of this descriptive correlational research study were to examine family management and the relationship of education, income and social support to family management in caregivers of children with Bronchopulmonary Dysplasia. The sample was purposively selected and included 85 primary caregivers of children with Bronchopulmonary Dysplasia. The children ranged in age from newborn to 3 years old received care from either the High Risk clinic, the Newborn clinic, or the Pediatric clinic at the pediatric out-patient departments at Maharaj Nakhon Chiangmai Hospital, Lampang Hospital, Chiangrai Prachanukroh Hospital, and Uttaradit Hospital from October 2020 to February 2021. The research instruments consisted of the Social Support Questionnaire with a reliability of 81, the five dimensions of the Family Management Measure, with a reliability score between .81 and .85. Data were analyzed using descriptive statistics eta coefficient, and Pearson's correlation coefficient. The results of the study revealed that: 1. The overall family management mean score were at a moderate level (x̄ = 136.36, SD = 10.01). Four of the five dimensions of family management were at moderate levels: child's daily life x̄ = 16.99, SD = 3.02), condition management etiort x̄ = 11.97, SD = 2.81), family life difticulty (x̄ =35.13, SD= 9.28), and view of condition impact (x̄ = 27.95, SD = 3.92). However, the dimension of condition management ability was at a high level; (x̄ = 44.56, SD = 5.90). The casy side of family management was 96.50% (x̄ = 61.55, SD = 7.89). The difficult side of family management was 76.50% (x̄ =74.71, SD = 14.32). 2. Education level of caregivers was positively correlated with family management in three dimensions; condition management ability, family life difficulty and view of condition impact; at a moderate level (η = .35, p < .05, η = .42, p <.05, η =.35, p< .05, respectively). Income was positively correlated with condition management ability at a moderate level (η = .37, p < .05). 3. The total mean scores of social support were positively correlated with family management in the area of condition management effort, family life difficulty, and view of condition impact, all of which scored within the moderate range (r =.37, p <.01, r = .33, p <.01, r = .32, p<.01, respectively). The study revealed that health personnel should be aware of the effect that education level, income, and social support have on caregivers. This information may allow them to help caregivers of children with bronchopulmonary dysplasia to have efficient family management.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectโรคปอดเรื้อรังen_US
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการครอบครัวในผู้ดูแลเด็กโรคปอดเรื้อรังen_US
dc.title.alternativeFactors related to family management among caregivers of children with Bronchopulmonary Dysplasiaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashปอด -- โรค-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashผู้ดูแล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคปอดเรื้อรังเป็นโรคเรื้อรังต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ผู้ดูแลเด็กจึงมีส่วนสำคัญใน การจัดการดูแล เพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก การวิจัยเชิงพรรณนาหาความสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการครอบครัวและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ดูแล ซึ่งประกอบด้วย ระดับการศึกษา รายได้ และการสนับสนุนทางสังคมกับการจัดการครอบครัว กลุ่มตัวอย่าง ในการศึกษานี้ คือ ผู้ดูแลหลักของเด็กอายุตั้งแต่แรกเกิด ถึง 3 ปี ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคปอด เรื้อรัง และพาเด็กมาเข้ารับการตรวจที่คลินิกไฮริส คลินิกนิวบอร์น คลินิกกุมารเวชกรรม แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลลำปาง โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ และ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2563 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 จำนวน 85 ราย เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ดูแลเด็กโรคปอดเรื้อรัง แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของเด็กโรคปอดเรื้อรัง แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมและ แหล่งสนับสนุนทางสังคมในผู้ดูแลเด็กโรคปอดเรื้อรัง มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 81 และแบบสอบถาม การจัดการครอบครัว มีค่าความเชื่อมั่นเป็นรายด้าน อยู่ระหว่าง .81 - 85 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ พรรณนา สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อีต้า และสถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยโดขรวมการจัดการครอบครัวในผู้ดูแลเด็กโรคปอดเรื้อรังโดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง (x̄ - 136.36, SD -10.01) และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า การจัดการครอบครัว 4 ใน 5 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง คือ ด้านการรับรู้ชีวิตประจำวันของเด็ก (x̄ = 16,99, SD = 3.02) ด้านความพยายาม ในการจัดการสภาพความเจ็บป่วย (x̄ = 1 1.97, SD =2.81) ด้านความยากลำบากในชีวิตครอบครัว (x̄ = 35. 13, SD =9.28) ด้านมุมมองผลกระทบต่อสภาวะความเจ็บป่วย (x̄ = 27.95, SD =3.92) แต่ด้าน ความสามารถในการจัดการสภาวะความเจ็บป่วย อยู่ในระดับสูง (x̄ = 44.56, SD -5.90 ผู้ดูแลเด็กโรคปอด เรื้อรังมีการจัดการครอบครัวที่ง่ายคิดเป็นร้อยละ 96.50 (x̄ = 61.55, SD = 7.89) การจัดการครอบครัว ด้านที่ยาก พบว่า ผู้ดูแลเด็กโรคปอดเรื้อรัง มีการจัดการครอบครัวที่ง่ายเช่นเดียวกัน คิดเป็นร้อยละ 76.50 (x̄ =74.71, SD=14.32) 2. ระดับการศึกษาของผู้ดูแล มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการจัดการครอบครัวในผู้ดูแลเด็ก โรคปอดเรื้อรัง 3 ด้าน คือ ด้านความสามารถในการจัดการสภาวะเจ็บป่วย ด้านความขากลำบากใน ชีวิตคร อบครัว และด้านมุมมองผลกระทบต่อสภาวะความเจ็บป่วย อยู่ในระดับปานกลาง (η = .35, p < .05, η = .42, p < .05 , η = .35, p <.05 ตามลำดับ) และราขได้มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการจัดการ ครอบครัวด้านความสามารถในการจัดการสภาวะเจ็บป่วย ในระดับปานกลาง (η = . 37, p <.05) 3. คะแนนเฉลี่ยโดยรวมการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการจัดการ ครอบครัว ด้านความพยายามในการจัดการสภาพความเจ็บป่วย ด้านความยากลำบากในชีวิตครอบครัว และด้านมุมมองผลกระทบต่อสภาวะความเจ็บป่วย ในระดับปานกลาง (r = .37, p <.0l, r = .33, p<.01, r =32, p<.01ตามลำดับ) การศึกษานี้ ชี้ให้เห็นว่าบุคคลากรสาธารณสุขควรตระหนักถึง ระดับการศึกษาของผู้ดูแล รายได้ และการสนับสนุนทางสังคมมีส่วนเกี่ยวข้องที่อาจส่งเสริมให้ผู้ดูแลเด็กโรคปอดเรื้อรังมีการ จัดการครอบครัวที่ดีen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231077 กาญจนาภา ศุภบูรณ์.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.