Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอื้อบุญ เอกะสิงห์-
dc.contributor.authorสุดารัตน์ อาพันธ์en_US
dc.date.accessioned2022-08-29T16:05:49Z-
dc.date.available2022-08-29T16:05:49Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74030-
dc.description.abstractThis study aimed to examine impacts of non-financial information assurer types on investor judgments. Questionnaires were used as a tool to collect data. Samples of this study were identified to 90 graduate students of the master's degree in Business Administration and Accounting program and the 4" year undergraduate students of the Faculty of Business Administration, Chiang Mai University. These samples processed adequate knowledge on accounting and finances; completed the required courses on accounting and financial statement and investment analyses and were considered as qualified persons with investment knowledge who were able to be the representative of general investors. This quasi-experimental research employed 3x 1 mixed design method. In this study, the non-financial information assurer types were classified into 3 conditions: Condition 1 - Big 4 Assurer; Condition 2 - Non-Big 4 Assurer and Condition 3 -Specialist Consultant. Investor judgments were measured by investment intention and confidence ininformationprovidedinthereport.tsreserved According to the One-Way ANOVA, which was applied to analyze differences of the mean values for investment intention and confidence in information provided in the report as obtained from the 3 conditions, the findings were demonstrated as follows. Regarding the analysis on investor judgment as measured by investment intention, overall opinions of the respondents on investment intention were indifferently observed at statistical significance. Regarding the analysis on confidence in information provided in the report, overall opinions of the respondents towards this regard were differently observed at statistical significance. Regarding the confidence in the disclosure on corporate sustainability reports, the respondents were confident in the disclosure on corporate sustainability reports of the Big 4 Assurer more than the disclosure of the Specialist Consultant and were confident in the disclosure of Big 4 Assurer more than the disclosure of the Non-Big 4 Assurer. Regarding the reliability of assurers on corporate sustainability reports, the respondents rated the reliability of corporate sustainability reports as provided by the Big 4 Assurer at higher level than those as provided by the Non-Big 4 Assurer; while rated the reliability of corporate sustainability reports as provided by the Specialist Consultant at higher level than those as provided by the Non-Big 4 Assurer. Regarding the confidence in information disclosure in corporate sustainability reports, the respondents rated their confidence in information disclosure in corporate sustainability reports as conducted by the Big 4 Assurer at higher level than those as conducted by the Specialist Consultant; while rated their confidence in information disclosure in corporate sustainability reports as conducted by the Big 4 Assurer at the higher level than those as conducted by the Non-Big 4 Assurer. The findings also showed that non-financial information assurer types aflected the investor judgment differently at statistical significance. The confidence in information provided in the report shall be observed at higher level than investment intention if the assurer was from the Big 4 Assurer, the Specialist Consultant and the Non-Big 4 Assurer, respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของประเภทของผู้ให้ความเชื่อมั่นในข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินต่อการตัดสินใจของนักลงทุนen_US
dc.title.alternativeImpact of non-financial information assurer types on investor judgmentsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashนักลงทุน -- การตัดสินใจ-
thailis.controlvocab.thashการลงทุน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของประเภทของผู้ให้ความเชื่อมั่นในข้อมูล ที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินต่อการตัดสินใจของนักลงทุน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจและการบัญชี และ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 90 คน ซึ่งเป็น นักศึกษากลุ่มที่มีความรู้ ความเข้าใจทางด้านการบัญชีและด้านการเงินพอสมควร ได้ผ่านการเรียน วิชาการบัญชี การวิเคราะห์งบการเงิน และการลงทุน ตามหลักสูตร ถือเป็นผู้ที่มืองค์ความรู้ด้าน การลงทุน มาเป็นตัวแทนของนักลงทุนทั่วไป การศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบ แบบกึ่งการทดลอง (Quasi-experimental research) การออกแบบรูปแบบการทดลองเป็นแบบ 3x1 โดยแบ่งประเภทของ ผู้ให้ความเชื่อมั่นในข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินแบ่งเป็น 3 เงื่อนไข ได้แก่ เงื่อนไขที่ 1 ผู้ให้ความ เชื่อมั่นจากสำนักงานสอบบัญชีขนาดใหญ่ (Big 4 Assurer) เงื่อนไขที่ 2 ผู้ให้ความเชื่อมั่นจากสำนัก งานสอบบัญชีอื่น ๆ (Non-Big 4 Assurer) และเงื่อนไขที่ 3 ผู้ให้ความเชื่อมั่นที่เป็นที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ (Specialist Consultant) โดยผลการตัดสินใจของนักลงทุนนั้นวัดได้จากความตั้งใจลงทุน และความเชื่อมั่นของข้อมูลที่รายงาน จากการศึกษาผลของการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของความตั้งใจลงทุนและความเชื่อมั่นของข้อมูลที่รายงาน ทั้ง 3 เงื่อนไข พบว่า การตัดสินใจของนักลงทุนที่วัดจากความตั้งใจลงทุน ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความคิดเห็นในภาพรวมของความตั้งใจลงทุนไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ ความเชื่อมั่นของข้อมูลที่รายงาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นของความเชื่อมั่นของ ข้อมูลที่รายงานมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในด้านของความเชื่อมั่นในการเปิดเผย ข้อมูลรายงานความยั่งยืนของบริษัท พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเชื่อมั่นในการเปิดเผยข้อมูล รายงานความยั่งยืนของบริษัทที่ผู้ให้ความเชื่อมั่นมาจาก Big 4 Assurer มากกว่า Specialist Consultant และ Big 4 Assurer มากกว่า Non-Big 4 Assurer ในด้านของความน่าเชื่อถือของผู้ที่ให้ ความเชื่อมั่นต่อรายงานความยั่งยืนของบริษัท พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความน่าเชื่อถือของผู้ที่ ให้ความเชื่อมั่นต่อรายงานความยั่งยืนของบริษัทที่ผู้ให้ความเชื่อมั่นมาจาก Big 4 Assurer มากกว่า Non-Big 4 Assurer แ ละ Specialist Consultant มากกว่า Non-Big 4 Assurer และด้านของความ เชื่อมั่นต่อข้อมูลที่เปิดเผยในรายงานความยั่งยืนของบริษัท พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความ เชื่อมั่นต่อข้อมูลที่เปิดเผยในรายงานความยั่งยืนของบริษัทที่ผู้ให้ความเชื่อมั่นมาจาก Big 4 Assurer มากกว่า Specialist Consultant และ Big 4 Assurer มากกว่า Non-Big 4 Assurer นอกจากนี้ยังพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเชื่อมั่นต่อข้อมูลที่เปิดเผยในรายงานความยั่งยืนของบริษัทเมื่อผู้ให้ ความเชื่อมั่นมาจาก Specialist Consultant มากกว่า Non-Big 4 Assurer จากผลการศึกษาพบว่า ประเภทของผู้ให้ความเชื่อมั่นในข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินต่อ การตัดสินใจของนักลงทุน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของความเชื่อมั่นของข้อมูล ที่รายงานมากกว่าความตั้งใจลงทุน เมื่อผู้ให้ความเชื่อมั่นมาจาก Big 4 Assurer มากกว่า Speciaist Consultant และ Non-Big 4 Assurer ตามลำดับen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532197 สุดารัตน์ อำพันธ์.pdf5.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.