Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74027
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประทุม สร้อยวงค์-
dc.contributor.advisorวราวรรณ อุดมความสุข-
dc.contributor.authorกัลยาณี มูลฐีen_US
dc.date.accessioned2022-08-29T15:58:24Z-
dc.date.available2022-08-29T15:58:24Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74027-
dc.description.abstractAn advanced care plan is a process of giving information about the diagnosis, prognosis, treatment goals, and choices of treatment to patients and their families. This process aims to help patients to receive care as their needed and maintain their good quality of life until the end of life stage. The purpose of this implementation research was to examine the effectiveness of implementing clinical practice guidelines (CPGs) in promoting advanced care planning for cancer patients receiving palliative care. The study was conducted following the clinical practice guidelines of the National Health and Medical Research Council framework, Australia (NHMRC, 1999, 2000). Participants consisted of two groups; group 1 was 52 cancer patients receiving palliative care before CPGs implementation and 33 cancer patients receiving palliative care during CPGs implementation. Group 2 were fourteen health care personal who utilized CPGs. The research instruments composed of: (1) the Clinical Practice Guidelines in Promoting Advanced Care Planning for Cancer Patient developed by Surasree et al. (2013),(2) the Palliative Performance scale for Adult Suandok (PPS Adult Suandok), (3) the Hospital Anxiety and Depression Scale: Thai Version (Thai HADS), (4) the Advanced Care Planning for Cancer Patient Assessment, and (5) the User Satisfaction of Implementing Clinical Practice Guidelines in Promoting Advanced Care Planning for Cancer Patients Receiving Palliative Care survey form. All instruments were tested for psychometric properties before use to collect data. The data were analyzed using descriptive statistics. The result revealed that: 1. The desire, expectation, needs, and choices of treatment were indicated by 11.54% of participants before the CPGs implementation, while during the implementation 81.82% indicated their need for these domain. Before the implementation, 23.08% of participants mentioned their need for a care plan related to reliving unpleasant symptoms, while during the CPGs implementation, 90.91% needed the advanced care planning for this specific domain. Twenty point eight percent of participants before CPGs implementation and 66.6 7% of participants during the CPGs implementation indicated their need of care plan for an emergency condition. Regarding the need for discharge planning, 7.69% of participants before CPGs implementation reported the need for this domain, whereas 51.52% of those during CPGs implementation reported their need for discharge planning during the guideline implementation. 2. Most healthcare personnel (85.71%) had a high level of overall satisfaction regarding utilizing CGPs for constipation management. The result indicated that implementing CPGs in promoting advanced care planning for cancer patients receiving palliative care could promote their advanced care planning. Furthermore, health care providers who utilized this guideline expressed their satisfaction for CPGs implementation at a high level. Thus, this study's results should be proposed to the administration hospital to further implement CPGs in caring for cancer patients.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการส่งเสริมการวางแผน ดูแลล่วงหน้าสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองen_US
dc.title.alternativeEffectiveness of implementing clinical practice guidelines in promoting advanced care planning for cancer patients receiving palliative careen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashมะเร็ง -- ผู้ป่วย-
thailis.controlvocab.thashผู้ป่วย -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashมะเร็ง -- การรักษา-
thailis.controlvocab.thashการรักษาเพื่อบรรเทาอาการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวางแผนดูแลล่วงหน้าเป็นกระบวนการให้ข้อมูลในเรื่องการวินิจฉัย การพยากรณ์โรค เป้าหมายการรักษา รามถึงทางเลือกการดูแลรักษาแก่ผู้ป่ายและครอบครัวเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการ ดูแลความประสงค์ของผู้ป่ายและคงไวัซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีจบถึงวาระสุดท้ายของชีวิต การวิจัย ดำเนินการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการส่งเสริมการ วางแผนดูแลล่วงหน้าสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ใด้รับการดูแลแบบประดับประคอง ดำเนินการนำแนว ปฏิบัติไปใช้ตามกรอบแนวคิดของสภาวิจัยทางการแพทข์และสุขภาพแห่งชาติ ประเทศออสเตรเลีย (NHMRC, 1999, 2000) กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับการดูแล แบบประกับประคองแบ่งเป็นกลุ่มที่มารับการรักษาก่อนมีการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการส่งเสริม การวางแผนดูแลล่วงหน้าจำนวน 52 คน และกลุ่มที่มารับการรักษาขณะที่มีการใช้แนวปฏิบัติทาง คลินิกจำนวน 33 คน และกลุ่มที่ 2 คือบุคลากรผู้ใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกจำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แนวปฏิบัติทางคลินิกในส่งเสริมการวางแผนดูแลล่วงหน้าสำหรับผู้ป่วย โรคมะเร็ง พัฒนาโดย จีราพร สุรศรี และคณะ (2556) 2) แบบประเมินระดับผู้ป่วยที่ได้รับการดูแล แบบประดับประคอง ฉบับสวนดอก 3) แบบสอบถามอาการวิตกกังวลและอาการซึมเศร้า ฉบับ ภายาไทย 4) แบบประเมินการวางแผนดูแลล่วงหน้าในผู้ป่วยโรคมะเร็ง และ 5) แบบประเมินความ พึงพอใจของผู้ใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการส่งเสริมการวางแผนดูแลล่วงหน้าสำหรับผู้ป่วย โรคมะเร็งที่ได้รับการดูแลแบบประดับประคอง เครื่องมือวิจัยผ่านการทดสอบความตรงของเนื้อหา และความเชื่อมั่นก่อนนำมาใช้ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1. สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างที่มีการระบุความต้องการในการวางแผนดูแลล่วงหน้าระหว่าง กลุ่มตัวอย่างก่อนมีการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกและกลุ่มตัวอย่างขณะมีการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิก พบว่า ด้านระบุความปรารถนาของผู้ป่วยและครอบครัว ความคาดหวัง ความต้องการและทางเลือก การรักษา คิดเป็นร้อยละ 11.54 และ 81.82 ตามลำดับ ด้นแผนการดูแลเพื่อบรรเทาอาการไม่สุขสบาย คิดเป็นร้อยละ 23.08 และ 90.91 ตามลำดับ ด้านแผนการดูแลเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉิน คิดเป็นร้อยละ 28.85 และ 66.67 ตามลำดับ และด้านแผนการวางแผนการจำหน่าย คิดเป็นร้อยละ 7.69 และ 51.52 ตามลำดับ 2. บุคลากรผู้ใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการส่งเสริมการวางแผนดูแลล่วงหน้าสำหรับผู้ป่วย โรคมะเร็งที่ได้รับการดูแลแบบประดับประคอง ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจโดยรวมต่อการใช้แนว ปฏิบัติอยู่ในระดับมากคิดเป็นร้อยละ 85.71 ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการใช้แนวปฏิบัติทงคลินิกในการส่งเสริมการวางแผนดูแล ล่วงหน้าสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองช่วยส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคมะเร็ง สามารถวางแผนดูแลล่วงหน้าและบุคลากรผู้ใช้แนวปฏิบัติมีความพึงพอต่อแนวปฏิบัติอยู่ในระดับ มาก ดังนั้นจึงควรเสนอผลการวิจัยต่อผู้บริหารโรงพยาบาลเพื่อให้มีการนำแนวปฏิบัตินี้ไปใช้ในการ ดูแลผู้ป่วยต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601231062 กัลยาณี มูลฐี.pdf6.23 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.