Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74023
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิทธิกร คุณวโรตม์-
dc.contributor.authorอมรเทพ วัชรางกูรen_US
dc.date.accessioned2022-08-29T15:47:16Z-
dc.date.available2022-08-29T15:47:16Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74023-
dc.description.abstractObjective: To evaluate the remineralization efiects of nano-hydroxyapatite containing paste on early demineralized enamel under simulated pH cyeling model compare with fluoride and CPP-ACP containing paste. Methods: Enamel specimens were obtained from human premolars and embedded in acrylic resin blocks. All specimens were ground flat and polished and demineralized 7 days to create artificial caries lesion prior cut perpendicular to surface for measuring mineral loss. Eighty specimens were selected from mean of mineral loss and randomly allocated to five groups (n=16): control (without treatment), nano-hydroxyapatite paste (10% HAP), nano-hydroxyapatite with fluoride paste (10% HAP + 1000 ppm NaF), fluoride paste (1000 ppm NaF) and CPP-ACP paste. Demineralized mineral loss and lesion depth were analyzed using micro-computed tomography and cross-sectional hardness and elastic modulus were measured by mean of nanoindenter. The specimens were evaluated after assigned treatment and simulated pH cycling model for 7 and 14 days. Within experimental group, the micro-computed tomography and naoindenter were evaluated at the period of 7 and 14 days. All collected data were calculated to changes in variables and analyzed between experimental groups and times. All statistical test was performed at a 5% level of significance. Results: The nano-hydroxyapatite paste and fluoride paste exhibited the ability to diminish mineral loss and lesion depth significantly after treated for 14 days. Cross sectional hardness and elastic modulus also increased but noticed at the different depth of lesion. On the other hand, the CPP-ACP group showed progressing in mineral loss and lesion depth after a period of 7 and 14 days, in which there were no significant difference compared to those of the control group. Conclusion: The use of nano-hydroxyapatite paste under the condition of pH-cycling for 14 days promotes remineralization on early demineralized enamel in the same way as using fluoride paste. However, the different characteristic of remineralization has been observed.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของสารป้ายทดลองนาโนไฮดรอกซีอะพาไทต์ต่อการคืนแร่ธาตุบนผิวเคลือบฟันซึ่งสูญเสียแร่ธาตุระยะแรกen_US
dc.title.alternativeEffects of experimental nano-hydroxyapatite pastes on remineralization of early demineralized enamelen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเคลือบฟัน -- การทดสอบ-
thailis.controlvocab.thashเคลือบฟัน-
thailis.controlvocab.thashฟัน -- การสึกกร่อน-
thailis.controlvocab.thashฟลูออไรด์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการคืนแร่ธาตุของสารป้ายทดลองนาโนไฮดรอกซีอะพาไทต์บนผิว เคลือบฟันซึ่งสูญเสียแร่ธาตุระยะแรกและผ่านการจำลองพีเอชไซคลิง เมื่อเที่ยบกับสารป้ายฟลูออไรด์ และซีพีพีเอซีพี วิธีการวิจัย นำฟันกรามน้อยแท้ของมนุษย์มาตัดเอาชั้นเคลือบฟันจากส่วนตัวฟัน เพื่อนำมาฝัง ในอะคริลิกเรซิน ขัดผิวชั้นเคลือบฟันจนเป็นแนวระนาบและผ่านการจำลองกระบวนการสูญเสียแร่ ธาตุบนชั้นเคลือบฟันเป็นเวลา 7 วันก่อนนำไปตัคแบ่งตามขวางเพื่อวัดค่าปริมาณแร่ธาตุที่สูญเสียไป คัดเลือกชิ้นงานตัวอย่างเหลือจำนวน 80 ชั้นจากค่าเฉลี่ยปริมาณแร่ธาตุที่สูญเสียไป และแบ่งกลุ่ม ขึ้นงานตัวต้นด้วยการสุ่มเป็น 5 กลุ่ม จำนวนกลุ่มละ 16 ชิ้น ได้แก่ กลุ่มควบคุมที่ไม่ได้ใช้สารป้าย กลุ่ม สารป้ายทดลองนาโนไฮดรอกชีอะพาไท กลุ่มสารป้ายทดลองนาโนไฮดรอกซีอะพาไทต์ผสม ฟลูออไรค์ กลุ่มสารป้ายฟลูออไรค์ และกลุ่มสารป้ายซีพีพีเอซีพี จากนั้นวัดส่วนเคลือบฟันที่ผ่านการ จำลองกระบวนการสูญเสียแร่ธาตุเป็นปริมาณแร่ธาตุที่สูญเสียไปและความลึกรอยโรคด้วยเครื่องถ่าย รังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ชนิดไมโคร ค่าความแข็งและโมดูลัสยืดหยุ่นในแนวตัดขวางด้วย เครื่องวัดความแข็งระดับนาโน จากนั้นวัดผลช่วงหลังการใช้สารป้ยตามกลุ่มทดลองร่วมกับการ จำลองพีเอชไซคลิงที่ระยะเวลา 7 และ 14 วันอีกครั้ง นำค่จากการวัดผลด้วยเครื่องถ่ายรังสีส่วนตัด อาศัยคอมพิวเตอร์ชนิดไมโครและเครื่องวัดความแข็งระดับนาโนมาเปรียบเทียบที่ระยะเวลาต่าง ๆ ภายในแต่ละกลุ่มทดลอง และนำข้อมูลทั้งหมดมาคำนวณหาก่การเปลี่ยนแปลงเพื่อวิเคราะห์ เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มทดลองและระยะเวลาที่ใช้สารป้าย การทดสอบทางสถิติวิเคราะห์ ที่ระดับ ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษา กลุ่มสารป้ายทดลองนาโนไฮดรอกซีอะพาไทต์และสารป้ายฟลูออไรด์มี ความสามารถลดปริมาณแร่ธาตุที่สูญเสียไปและความลึกรอยโรคลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังใช้ สารป้ายที่ระยะเวลา 14 วัน และมีค่าความแข็งและโมดูลัสยืดหยุ่น ในแนวตัดขวางของรอยโรคเพิ่ม สูงขึ้น แต่แตกต่างกันที่ระดับความลึก ในทางกลับกันกลุ่มสารป้ายซีพีพีเอซีพีมีค่าปริมาณแร่ธาตุที่ สูญเสียไปและความลึกรอยโรถเพิ่มขึ้นหลังใช้สารป้าย 7 และ 14 วัน และไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ไม่ใช้สารป้าย สรุปผลการศึกษา การใช้สารป้ายทดลองนาโนไฮดรอกซีอะพาไทต์เป็นระยะเวลา 14 วัน ร่วมกับการจำลองพีเอชไซคลิงส่งผลให้เกิดการคืนแร่ธาตุโคยสุทธิบนผิวเคลือบฟันซึ่งสูญเสียแร่ธาตุ ระยะแรกได้ดีใกล้เคียงกับการใช้สารป้ายฟลูออไรด์ โดยแตกต่างกันที่ลักษณะการส่งเสริมการคืนแร่ ธาตุen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600931026 อมรเทพ วัชรางกูร.pdf7.63 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.