Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธานัท วรุณกูล-
dc.contributor.authorเกรียงไกร สมยศen_US
dc.date.accessioned2022-08-29T15:15:36Z-
dc.date.available2022-08-29T15:15:36Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74012-
dc.description.abstractThe objectives of this study are to; 1) Survey and analysis of improvement in the use of space adjustments for the Lanna local dwelling house in Chiang Mai, 2) Synthesize the relationship between usable space modification and behavior of the Lanna local dwelling house in Chiang Mai, and 3) Propose the appropriated design of applied architecture for constructing and renovating the Lanna local dwelling house. The study used survey research. Data were collected before and after physical modifications; synthesized according to the concept of morphology by analyzing the network model, connection, and unit placement. Synthesizing the behavior of the use of indoor space would be affected the modification of the local Lanna residential buildings. The study showed that; before the renovation, the Mean Depth (MD) was 3.068, the Integration or relative asymmetry Values (Ra) was 0.600, and the Integration value (RRA) was 0.554. After the renovation, the Mean Depth (MD) was 3.116, the Integration or relative asymmetry Values (Ra) was 0.404, and the Integration value (RRA) was 0.739. In consequence, the area after the renovation tended to change the space morphology from linear to combined form; a mix of line and bush. The most morphological change was "Tem", a central space representing the identity of Lanna architecture. And it also found that there are 4 essential factors affecting building renovation as follows: 1) the increasing of occupants, 2) The career change of occupants, 3) social and economic, and 4) the deterioration of building materials. It would be the database for the design of renovated the applied Lanna- style residential buildings; and for supporting the development of Chiang Mai city in the conservation and tourism of the city in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษารูปแบบ องค์ประกอบของเรือนพักอาศัยในคูเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeA Study of compositions within the dwellings of Chiang Mai old townen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการจัดการอาคาร -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรม -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการออกแบบสถาปัตยกรรม -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashคูเมือง -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สำรวจและวิเคราะห์พัฒนาการในการปรับเปลี่ยนพื้นที่ใช้สอย อาคารสถาปัตยกรรมประเภทบ้านไม้เก่าในเขตกำแพงเมืองคูเมืองชั้นในจังหวัดเชียงใหม่ 2) สังเคราะห์ ความสัมพันธ์ระหว่างการปรับเปลี่ยนพื้นที่ใช้สอยและพฤติกรรมการใช้งานอาคารสถาปัตยกรรมประเภท บ้านไม้เก่าในเขตกำแพงเมืองคูเมืองชั้นในจังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เสนอแนวทางในการออกแบบ สถาปัตยกรรมประยุกต์ ในการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร สถาปัตยกรรมประเภทบ้านที่เหมาะสม วิธีการ ศึกษาวิจัยเชิงสำรวจ เก็บรวบรวมข้อมูลกายภาพก่อนและหลังการปรับเปลี่ยน สังเคราะห์ ข้อมูลตาม แนวคิดสัณฐานวิทยา โดยเทคนิควิเคราะห์รูปแบบโครงข่ายการเชื่อมต่อและจัดวางหน่วยพื้นที่ สังเคราะห์ พฤติกรรมการใช้งานพื้นที่ภายในอาคารเดิม ว่ามีผลต่อการปรับเปลี่ยนอาคารพักอาศัยพื้นถิ่นล้านนา อย่างไร ผลวิจัยพบว่าก่อนการปรับเปลี่ยนค่าเฉลี่ยการเข้าถึงพื้นที่เท่ากับ 3.068 ค่าความสัมพันธ์พื้นที่ เท่ากับ 0.600 และค่าความเชื่อมโยงความสัมพันธ์พื้นที่เท่ากับ 0.554 ภายหลังการปรับเปลี่ยนค่าเฉลี่ยการ เข้าถึงพื้นที่เท่ากับ 3.116 ค่าความสัมพันธ์พื้นที่เท่ากับ 0.404 และค่าความเชื่อมโยงความสัมพันธ์พื้นที่ เท่ากับ 0.739 แสดงให้เห็นว่า พื้นที่ภายหลังการปรับเปลี่ยนมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงลักษณะสัณฐาน พื้นที่จากรูปแบบเส้น สู่รูปแบบผสม ระหว่างแบบเส้นและแบบพุ่ม โดยพื้นที่ที่เกิดการปรับเปลี่ยนสัณฐาน มากที่สุด คือ "เตี๋น* ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนกลางที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของสถาปัตยกรรมล้านนา และพบว่ามี 4 ปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนอาคารประกอบด้วย 1) การเพิ่มขึ้นของผู้ใช้งานอาคาร 2) การ ประกอบอาชีพของผู้ใช้งานอาคารเปลี่ยนไป 3) สังคมและเศรษฐกิจ และ4) การเสื่อมสภาพของวัสดุอาคาร เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำหรับ การออกแบบ ปรับปรุง อาคารพักอาสัย แบบล้านนาประยุกต์เพื่อรองรับการ พัฒนาเมืองเชียงใหม่ ด้านการอนุรักษ์และการท่องเที่ยวของเมืองในอนาคดen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591731009 เกรียงไกร สมยศ.pdf6.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.