Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73992
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKannika Na Lampang-
dc.contributor.advisorWarangkhana Chaisowwong-
dc.contributor.advisorMontira Intanon-
dc.contributor.authorWirunchana Srichumpornen_US
dc.date.accessioned2022-08-23T01:01:50Z-
dc.date.available2022-08-23T01:01:50Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73992-
dc.description.abstractExtended-spectrum beta-lactamase (ESBL)-producing E. coli that resist to beta-lactam antibiotics, have been widely reported and detected in food from many countries. The contaminated pork is one of the transmission routes with this bacterium to consumers. This study informed the proportion of ESBL-producing E. coli, antibiotic resistance pattern and ESBL-producing E. coli genes from pork in Muang District, Chiang Mai Province, Thailand which traditional spicy minced raw pork salad is a famous dish. The 100 samples were collected from 3 market types including fresh markets, pork retail stores, and supermarkets. After enrichment and inoculation on selective media, ESBL- producing E. coli were identified with double-disk diffusion method according to CLSI 2016. Antibiotic susceptibility was tested by Vitek 2 System and ESBL-encoding genes were determined by multiplex PCR. The results showed 69% of samples were positive to ESBL-producing E. coli including from fresh markets 97.22%, pork stores 80.95%, and supermarkets 39.53%. The most resistant were Ampicillin (100%), Piperacillin (100%), Cefalexin (100%), Cefpodoxime (100%), Cefovecin (100%), Ceftiofur (100%) follow by Gentamycin (89.86%), and Tetracycline (84.06%). All isolates were multiple drug resistance at least 6 antibiotics, AM, PIP, CN, CPD, CFO, CFT, GM, TE, C, SXT was the most common antimicrobial resistance pattern. Coexistence resistance of beta-lactams, aminoglycosides, and tetracyclines were observed. All susceptibility were Imipenem 100% and Amikacin 100%. All positive were CTX-M group follow by TEM (98.55%), SHV (1.45 %), and no OXA gene. This study showed high ESBL- producing E. coli proportion in pork might been the risk transmission route to customer though contaminated food chain. The reasonable antimicrobial using and choosing pork form reliable sources should be realized.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleExtended spectrum beta- lactamase producing escherichia coli from pork in Muang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeเชื้อแบคทีเรียเอสเชอริเชีย โคไล ที่ผลิตเอมไซต์บีตา-แลคตาเมสชนิดฤทธิ์ขยายจากเนื้อหมูในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEscherichia coli-
thailis.controlvocab.lcshEscherichia coli infections in swine-
thailis.controlvocab.lcshEscherichia coli infections in animals-
thailis.controlvocab.lcshSwine -- Infections-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเชื้อแบคทีเรียเอสเชอริเชีย โคไล ที่ผลิตเอมไซต์บีตา-แลคตาเมสขนิดฤทธิ์ขยายซึ่งดื้อต่อยาปฏิชีวนะกลุ่มบีตาแลคเเตมได้ถูกรายงานและตรวจพบอย่างกว้างขวางจากอาหารในหลายประเทศ โดยเนื้อหมูที่มีการปนเปื้อนเป็นรูปแบบหนึ่งที่ส่งผ่านแบคทีเรียชนิดนี้สู่ผู้บริโภค สำหรับการศึกษาฉบับนี้จะรายงานข้อมูลอัตราส่วนของเชื้อแบคทีเรียเอสเชอริเชีย โคไล ที่ผลิตเอมไซต์บีตา-แลคตาเมสชนิดฤทธิ์ขยาย อัตราส่วนของการดื้อยาปฏิชีวนะ และอัตราส่วนของยีนเชื้อแบคทีเรียเอสเชอริเชีย โคไล ที่ผลิตเอมไซต์บีตา-แลคตาเมสชนิดฤทธิ์ขยายที่พบจากเนื้อหมูในจังหวัดเชียงใหม่, ประเทศไทย ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีวัฒนธรรมการบริโภคลาบดิบอย่างแพร่หลาย ตัวอย่างทั้งหมด 100 ตัวอย่างถูกเก็บมาจากตลาด 3 รูปแบบ ได้แก่ ตลาดสด ร้านค้าปลีกเนื้อหมู และ ห้างสรรพสินค้า หลังจากที่ทำการเพิ่มจำนวน เพาะเลี้ยงเชื้อบนอาหารที่จำเพาะแล้ว เชื้อแบคทีเรียเอสเชอริเชีย โคไล ที่ผลิตเอมไซต์บีตา-แลคตาเมสขนิดฤทธิ์ขยายจะถูกจำแนกโดยวิธี Double-disk diffusion ตามวิธีการของ CLSI ฉบับปี 2016 ทำการทดสอบการดื้อยาปฏิชีวนะโดยใช้เครื่อง Vitek 2 System และตรวจสอบ ยีนเชื้อแบคทีเรียเอสเชอริเชีย โคไล ที่ผลิตเอมไซต์บีตา-แลคตาเมสขนิดฤทธิ์ขยาย โดยใช้วิธีปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสมากกว่า 1 คู่ ผลการศึกษาพบตัวอย่างที่ ให้ผลบวกต่อเชื้อแบคทีเรียเอสเชอริเชีย โคไล ที่ผลิตเอมไซต์บีตา-แลคตาเมสขนิดฤทธิ์ขยาย 69% โดยที่ตัวอย่างจากตลาดสดพบ 97.22%, ร้านค้าปลีกเนื้อหมูพบ 80.95%และห้างสรรพสินค้าพบ 39.53% ซึ่งส่วนใหญ่จะดื้อต่อยาปฏิชีวนะแอมพิซิลลิน (100%), พิเพอราซิลลิน (100%), เซฟาเลกซิน (100%), เซฟโปดอกซิม (100%), เซโฟเวซิน (100%), เซฟติโอเฟอร์ (100%) ตามด้วย เจนตามัยซิน(89.86%) และ เตตราไซคลีน (84.06%). ไอโซเลททั้งหมดเป็นชนิดที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะหลายขนาด ซึ่งจะดื้อต่อยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 6 ชนิดโดยพบรูปแบบ AM-PIP-CN-CPD-CFO-CFT เป็นรูปแบบที่พบมากที่สุด และพบว่าการดื้อต่อยาปฏิชีวนะร่วมกันของกลุ่มบีตาแลคแตม, กลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์และกลุ่มเตตราไซคลีน และไอโซเลททั้งหมดจำเพาะต่อยาปฏิชีวนะอิมิพีเนม 100% และอะมิกาซิน100% ทั้งหมดเป็นยีนเชื้อแบคทีเรียเอสเชอริเชีย โคไล ที่ผลิตเอมไซต์บีตา-แลคตาเมสขนิดฤทธิ์ขยายกลุ่ม CTX-M พบมากที่สุด ตามมาด้วย TEM (98.55%), SHV (1.45 %) โดยไม่พบ OXA โดยสรุปการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าการพบเชื้อแบคทีเรียเอสเชอริเชีย โคไล ที่ผลิตเอมไซต์บีตา-แลคตาเมสขนิดฤทธิ์ขยายในอัตราส่วนที่มากในเนื้อหมู ซึ่งเป็นความเสี่ยงแนวทางหนึ่งที่ส่งผ่านแบคทีเรียชนิดนี้สู่ผู้บริโภคผ่านทางการปนเปื้อนในห่วงโซ่อาหาร ดังนั้นควรต้องมีการตระหนักถึงการใช้ยาปฏิชีวนะตั้งแต่ต้นทางผู้ผลิตและการเลือกซื้อเนื้อหมูจากแหล่งที่น่าเชื่อถือจากปลายทางผู้บริโภคen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Full Theses esbl pork copyright1.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.