Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73978
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชชุกาญจน์ ทองถาวร-
dc.contributor.authorณัชชา กรมแสงen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T08:43:29Z-
dc.date.available2022-08-20T08:43:29Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73978-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to study problem solving abilities of early childhood children with hearing impairment who were provided learning experiences by incomplete story telling activity packages. The target group for this study was 11 students in Kindergarten at Anusarnsunthorn school for the deaf, Muang District, Chiang Mai Province in the 1st semester of 2022. The instrument used in this study was the early childhood children’s problem solving capacity test. Both tests were 3 multiple choices and they were pictorial tests. The data was analyzed by computing percentages and compared with the set criteria of 70.00 %. The data was presented through the tables with descriptions. The result found that: After providing early childhood children’s learning experience by using incomplete story telling activity packages, the target group earned the problem solving abilities score between 72.50 – 95.00 %, higher than the set criteria of 70.00 %.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินโดยใช้ชุดกิจกรรมนิทาน ไม่จบเรื่องen_US
dc.title.alternativeEnhancing problem solving abilities of early childhood children with hearing impairment by using incomplete story telling activity packagesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการศึกษาปฐมวัย-
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมการเรียนการสอน-
thailis.controlvocab.thashนิทาน-
thailis.controlvocab.thashเด็กพิเศษ-
thailis.controlvocab.thashเด็กพิการ-
thailis.controlvocab.thashเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยที่มีความบกพร่องทางการได้ยินโดยใช้ชุดกิจกรรมนิทานไม่จบเรื่อง จำนวน 15 กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย คือ เด็กปฐมวัยที่มีความบกพร่องทางการได้ยินชั้นอนุบาล 2 จำนวน 4 คน และชั้นอนุบาล 3 จำนวน 7 คน รวมทั้งหมด 11 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาอนุสารสุนทร จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาสำหรับเด็กปฐมวัย เป็นแบบเลือกตอบ 3 ตัวเลือก มีลักษณะเป็นแบบวัดรูปภาพ จำนวน 20 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ และนำมาเปรียบเทียบเกณฑ์ที่กำหนด คือ ร้อยละ 70.00 นำเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบการบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า เด็กปฐมวัยกลุ่มเป้าหมายทุกคนมีค่าร้อยละของคะแนนจากการวัดความสามารถในการแก้ปัญหาอยู่ระหว่างร้อยละ 72.50 – 95.00 ซึ่งถือว่าสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ ร้อยละ 70.00en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600232051 ณัชชา ลงลายน้ำ 11สค.65.pdf16.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.