Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรัท วินิจ-
dc.contributor.authorนิจรักษ์ หลวงใจen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T03:31:11Z-
dc.date.available2022-08-20T03:31:11Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73947-
dc.description.abstractThe objective of this study was to examine the influence of perceived distinctive characteristics of Pola Bottled Drinking Water towards the customer purchase intention which is a case study of 300 Mueang Chiang Mai District customers. The methods we use in the study are Quota Sampling and convenient method (Convenience Sampling) by opening a table that is normally used in the case that the exact population is unknown when selecting the population of the study case. Determined from stores which has both large and medium-sized stores. The number of purchased customer were divided into ratios according to customer information from data storage locations: Warorot Market 150 customers, Muang Mai Market 50 customers, Sam Yaek Market 50 customers and Jed Yod Plaza 50 customers. The tools used for data collection were questionnaires. Data were analyzed using descriptive statistics consisting of frequency, percentage, mean, and standard deviation (S.D.). The statistics method to measure the distinctive characteristics levels was the Kaiser-Meyer-Olkin’s (KMOs) analysis and Bartlett’s Test. The significance level for hypothesis testing was 0.5, using factor analysis and regression analysis. The results of the survey are found that most of the consumers are female, over 50 years of age, education level is lower than a bachelor's degree, self-employed/freelance. Average monthly income is in the range of 10,001-20,000 baht. The frequency of Pola bottled drinking water 4-5 times a week. Purchase products from general convenience stores. The reason for choosing to buy is choose from the price. The size of the bottle to be purchased is 600 milliliters. The person who influences the purchase decision is himself. The most common source of purchasing decisions comes from referrals from retailers. The most convenient way to pay is cash. And know Pola bottled drinking water from the shelf/refrigerator inside the store. The opinion toward customer purchase intention for Pola bottled drinking water among Mueang Chiang Mai district consumers. The study found that consumers who wants to buy bottled water they would buy Pola bottled drinking water products. Also when they think of buying some drinking water ,they would like to buy Pola bottled drinking water products. In the future, if needed to buy drinking water they would as well buy Pola bottled drinking water products. When thinking about drinking water in general, they would think of Pola bottled drinking water and would recommend others to buy Pola bottled drinking water products. Perception of Pola bottled drinking water marketing mix factors of consumers in Mueang Chiang Mai district are Price Factors, Product Factors, Marketing Promotion Factors and Distribution Channel Factors.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleอิทธิพลของการรับรู้ลักษณะเด่น น้ำดื่มบรรจุขวดตราโพลา ต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeImpact of perceived differentiation of pola bottled drinking water on purchase intention among consumers in Mueang Chiang Mai district.en_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashน้ำดื่ม-
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการตลาด -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมทางการตลาดของน้ำดื่มบรรจุขวดโพลา และศึกษาอิทธิพลการรับรู้ลักษณะเด่นน้ำดื่มบรรจุขวดโพลาต่อความตั้งใจซื้อ ของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงอนุมาน ซึ่งศึกษาจากผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 300 รายโดยการเปิดตารางกรณีที่ไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน และใช้วิธีการกำหนด กลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า โดยแบ่งเป็นอัตราส่วนตามข้อมูลลูกค้าจากสถานที่เก็บข้อมูล กำหนดจากยอดขายของร้านค้า ซึ่งมีทั้งร้านค้าขนาดใหญ่และขนาดกลาง ได้แก่ ตลาดวโรรส จำนวน150ราย, ตลาดเมืองใหม่ จำนวน50ราย, ตลาดสามแยก จำนวน50ราย และเจ็ดยอด พลาซ่า จำนวน50ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ เชิงพรรณนา ประกอบด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท และทดสอบสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.5 โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบ และวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุมากกว่า 50 ปี ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ประกอบอาชีพอิสระ/รับจ้าง รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 10,001 -20,000 บาท ความถี่ในการดื่มน้ำดื่มบรรจุขวดโพลา 4-5 ครั้งต่อสัปดาห์ ซื้อสินค้ามาจากร้านสะดวกซื้อทั่วไป เหตุผลในการเลือกซื้อเลือกจากราคา ขนาดของขวดที่เลือกซื้อคือ 600 มิลลิลิตร บุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อคือตนเอง แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจซื้อมากที่สุดมาจากการแนะนำจากร้านขายปลีก วิธีที่สะดวกในการชำระเงินคือชำระเป็นเงินสด และรู้จักน้ำดื่มบรรจุขวดโพลามาจากชั้นวางสินค้า/ตู้แช่ภายในร้านค้า ความคิดเห็นต่อความตั้งใจซื้อ น้ำดื่มบรรจุขวดโพลา ของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่า หากต้องการซื้อน้ำดื่มบรรจุขวด จะซื้อผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวดโพลา หากต้องการดื่มน้ำดื่ม จะเลือกซื้อผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวดโพลา ในอนาคต หากต้องการซื้อน้ำดื่ม จะซื้อผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวดโพลา เมื่อนึกถึงน้ำดื่ม จะนึกถึงน้ำดื่มบรรจุขวดโพลา และ จะแนะนำคนอื่นๆให้ซื้อผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวด โพลา การรับรู้ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดน้ำดื่มบรรจุขวดโพลา ของผู้บริโภคอำเภอเมืองเชียงใหม่ พบว่า ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด และปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย การวิเคราะห์สมการถดถอยของปัจจัยลักษณะเด่นส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวดโพลา ของผู้บริโภคในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ได้ 3 องค์ประกอบ โดยองค์ประกอบที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อมากที่สุด คือ องค์ประกอบที่4 (β = 0.307, t = 5.193, P-value = 0.000) ตัวแทนลักษณะเด่นด้านการจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดในโอกาสต่างๆ รองลงมาคือ องค์ประกอบที่5 (β = 0.215, t = 3.746, P-value = 0.000) ตัวแทนลักษณะเด่นด้านความมีชื่อเสียงของแบรนด์ในท้องถิ่น และ องค์ประกอบที่3 (β = 0.157, t = 3.015, P-value = 0.003) ตัวแทนลักษณะเด่นด้านวิธีการสั่งซื้อสินค้า ตามลำดับen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532103ส่งจบ (ลายน้ำ).pdfIS pola by Nitjarak2.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.