Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73908
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม กุณาวงค์-
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorปานชนก วงศ์แพทย์en_US
dc.date.accessioned2022-08-16T16:10:03Z-
dc.date.available2022-08-16T16:10:03Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73908-
dc.description.abstractThe research study on the roles of Village headmen in solving conflicts in a community, a case study of Wang Chin District, Phrae Province, aims to: 1) investigate the roles of the subdistrict and village headmen in resolving conflicts within their community, 2) study various types of the conflicts and guidelines for appropriate conflict management in the subdistrict and village headmen's community. This study was a combination of quantitative and qualitative research implemented by collecting data from questionnaires and in-depth interviews of 81 individuals who were specifically selected, in order to study, analyze as well as summarize statistical and descriptive data regarding the role of the subdistrict and village headmen of Wang Chin District, Phrae Province in resolving conflicts within their community, together with types of the conflicts and guidelines for appropriate conflict management. The results of the study indicated that the subdistrict and village headmen played an important role in resolving conflicts within the communities in Wang Chin District, Phrae Province The conflicts often arising in the community in which the subdistrict and village headmen needed to resolve were in the type of interpersonal conflicts, including controversy and blasphemy, land dispute, interpersonal liabilities, burglary, group conflicts or conduct of group activities, usurpation of public policy and liabilities for non-payment of community funds. through a wide variety of conflict management methods. However, using compromise or mediation and community engagement was the primary approach, along with other methods to solve those conflicts in the communities. As for suggestions based on the results of the study, there should be a potential development plan for the subdistrict and village headmen as well as the community committees to broaden their basic legal knowledge and other laws concerning the conflicts in the communities that often arise. Educating on how to handle different types of conflicts should also be included. Moreover, there should be a village committee appointed to represent their community to mediate each conflict occurring within the community.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleบทบาทของผู้นำชุมชนในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชนen_US
dc.title.alternativeThe Roles of village headman in solving conflicts in a communityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashผู้นำชุมชน -- วังชิ้น (แพร่)-
thailis.controlvocab.thashความขัดแย้งทางสังคม-
thailis.controlvocab.thashการควบคุมทางสังคม-
thailis.controlvocab.thashการบริหารความขัดแย้ง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยเรื่องบทบาทของผู้นำชุมชนในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน กรณีศึกษา อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาบทบาทของ กำนัน ผู้ใหญ่บ้านใน การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นภายในชุมชน 2. เพื่อศึกษาลักษณะความขัดแย้ง และแนวทาง ในการจัดการความขัดแย้งที่เหมาะสมในชุมชนของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โดยการศึกษาในครั้งนี้เป็น การวิจัยเชิงปริมาณผสมผสานกับเชิงคุณภาพโดยการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 81 คน เพื่อเพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงสถิติ และสรุปพรรณนาข้อมูล บทบาทของกำนันผู้ใหญ่บ้านในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในชุน ชน ลักษณะความขัดแย้ง และแนวทางการจัดการความขัดแย้งที่เหมาะสม อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ผลการศึกษาพบว่า กำนันผู้ใหญ่บ้านมีบทบาทอย่างมากในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายใน ชุมชน อำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ที่สุด สำหรับลักษณะความขัดแย้งที่มักจะเกิดขึ้นในชุมชนและ กำนันผู้ใหญ่บ้านแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างบุคคลกับบุคคล ได้แก่ การทะเลาะวิวาทและ หมิ่นประมาท การพิพาทเรื่องที่ดิน หนี้สินระหว่างบุคคล การลักทรัพย์ ปัญหาความขัดแย้งของ กลุ่มหรือการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม การแย่งชิงผลประโยชน์จากนโยบายสาธารณะ หนี้สินจาก การไม่ชำระกองทุนหมู่บ้าน โดยใช้แนวทางวิธีการจัดการความขัดแย้งทุกวิธีแต่จะใช้การ ประนีประนอม/ใกล่เกลี่ย และการใช้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นแนวทางหลักและใช้ วิธีการจัดการความขัดแย้งอื่นๆ ประกอบในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน ข้อเสนอแนะ จากผลการศึกษา ควรมีการพัฒนาศักยภาพกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และคณะกรรมการหมู่บ้าน ในการ พัฒนาศักยภาพในความรู้ทางกฎหมายเบื้องต้น และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งในชุมชนที่ มักจะเกิดขึ้น ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการจัดการปัญหาความขัดแย้ง ในแต่ละกรณีความ ขัดแย้ง และควรมีการแต่งตั้งคณะกรรมการหมู่บ้าน เข้าร่วมหรือเป็นผู้แทน ในการไกล่เกลี่ยความ ขัดแย้งภายในหมู่บ้านในแต่ละกรณีความขัดแย้งen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590432013 ปานชนก วงศ์แพทย์.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.