Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWilailak Saraithong-
dc.contributor.authorKrissada Sangchayen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T15:58:01Z-
dc.date.available2022-08-16T15:58:01Z-
dc.date.issued2021-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73903-
dc.description.abstractThis study, "Thailand as Represented in the Western Films: The Hangover Part II (2011) and Pattaya (2016) Through the Orientalist Perspective," aims to investigate the idea of Orientalism as reflected in the representation of Thailand through both selected films. The data is analyzed based on the concept of Orientalism by Edward Said and Representation theory by Stuart Hall to determine how Thailand is represented. The data of this study were collected from two Western films, The Hangover Part II (2011) and Pattaya (2016). In both selected films, the discussion focuses mainly on six categories which relate to the representation of Thailand, namely the representation of men, women, the third gender, religious aspects, illegality, and other Orientalist aspects. It is evident that the films contain negative representation of Thailand, especially in ways that Thailand is depicted based upon Western prejudices. Said's concept of Orientalism helps reveal the binary opposition between the West and the East presented in the films. The results show that both Western films depict Thailand based on Orientalist assumptions and stereot yped images. The West keeps portraying the East as weak, barbarous, irrational, and voiceless. Moreover, the Thai culture such as religion is presented in ways that are distorted and disrespectful.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThailand as represented in the Western films: The Hangover Part II (2011) and Pattaya (2016) through the orientalist perspectiveen_US
dc.title.alternativeภาพแทนประเทศไทยในภาพยนตร์ตะวันตก เรื่อง แฮงก์โอเวอร์ ภาค 2 เมายกแก๊ง แฮงค์ยกก๊วน (2554) และ พัทยา อะฮ่า อะฮ่า (2559) ผ่านมุมมองแบบบูรพาคติen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.lcshMotion pictures -- Analysis-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยภาพแทนประเทศไทยในภาพยนตร์ตะวันตก เรื่อง แฮงก์โอเวอร์ ภาค 2 เมายกแก๊ง แฮงค์ยกก๊วน (2011) และ พัทยา อะฮ่า อะฮ่า (2016) ผ่านมุมมองแบบบูรพาคติฉบับนี้ มุ่งวิเคราะห์ แนวคิดของบูรพาคดีศึกษาที่สะท้อนออกมาจากภาพแทนประเทศไทยผ่านภาพยนตร์ตะวันตกทั้งสอง เรื่อง โดยข้อมูลจะถูกวิเคราะห์บนกรอบความคิดของบูรพาคดีศึกษาโดยเอ็ดเวิร์ด ซาอิด และทฤษฎี การสร้างภาพแทน โดยสจ๊วต ฮอลล์ เพื่อสืบหาว่าประเทศไทยถูกถ่ายทอดออกมาอย่างไร ซึ่งข้อมูลที่ ใช้ในการวิจัยได้นำมาจากภาพยนตร์ตะวันตกสองเรื่องคือเรื่อง แฮงก์โอเวอร์ ภาค 2 เมายกแก๊ง แฮงค์ ยกก๊วน (2011) และ พัทยา อะฮ่า อะฮ่า (2016) จากภาพยนตร์ที่ได้เลือกมานั้น ในบทวิเคราะห์ได้ให้ความสนใจกับหกหัวข้อหลักที่เกี่ยวข้อง กับภาพแทนของประเทศไทยอันได้แก่ ภาพแทนของผู้ชาย ผู้หญิง เพศที่สาม แง่มุมค้านศาสนา การทำ ผิดกฎหมาย และแง่มุมที่เกี่ยวข้องกับบูรพาคติด้านอื่นๆ ซึ่งเห็นได้ชัดว่าภาพยนตร์ทั้งสองเรื่อง ประกอบไปด้วยภาพแทนในด้านลบของประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของการสร้างภาพของ ประเทศไทยอันตั้งอยู่บนความลำเอียงของชาวตะวันตก ซึ่งกรอบความคิดของบูรพาคติศึกษาของซา อิดได้ช่วยเปิดเผยให้เห็นถึงความปีนคู่ตรงข้ามระหว่างชีกตะวันตกกับชีกตะวันออกที่ถูกฉายออกมา จากภาพยนตร์ทั้งสองเรื่อง ผลสรุปของการวิจัยแสดงให้เห็นว่าภาพยนตร์ตะวันตกทั้งสองเรื่องสร้าง ภาพของประเทศไทยที่ตั้งอยู่บนการสันนิษฐานแบบบูรพาคติและภาพแบบเหมารวม ตะวันตกยังคง ฉายภาพของตะวันออกในทางที่อ่อนแอ ป่าเถื่อน ไม่มีเหตุผล และไร้เสียง นอกจากนั้นเรื่องของ วัฒนธรรมของไทยเช่นในด้านศาสนาก็ยังถูกถ่ายทอดออกมาอย่างบิดเบือนและดูหมิ่นอีกด้วยen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590132033 กฤษฎา แสงฉาย.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.